Page 240 - ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย
P. 240

231


                          9.  นิยามศัพท์

                          10. ระยะเวลาด าเนินการ
                          11. แผนการด าเนินการ

                          12. สถานที่ท าการวิจัย

                          13. ทรัพยากรและงบประมาณ

                          14. ประวัติผู้วิจัย/คณะวิจัย
                          อย่างไรก็ตาม การเขียนโครงการวิจัยอาจมีหัวข้อแตกต่างจาก 14 หัวข้อข้างต้น ขึ้นอยู่กับ

               ข้อก าหนดของสถานศึกษา  แหล่งทุน หรือความต้องการของผู้ให้ท าโครงการวิจัย และอาจมีจ านวนหัวข้อ

               มากกว่าหรือน้อยกว่า 14 หัวข้อก็ได้ ขึ้นอยู่กับประเภทของการวิจัย เช่นงานวิจัยเชิงส ารวจ งายวิจัยเชิง
               คุณภาพ ไม่จ าเป็นต้องมีสมมติฐานการวิจัย เป็นต้น

               เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยอย่างง่าย

                          ส าหรับผู้เริ่มเขียนโครงการวิจัย อาจจะทดลองเขียนโครงการวิจัยอย่างง่ายๆ ไม่จ าเป็นต้องมี
               หัวข้อครบทั้ง 14 หัวข้อ ตามข้างต้น แต่ให้ครอบคลุมว่าจะท าวิจัยเรื่องอะไร (ชื่อโครงการวิจัย) ท าไมจึงท า

               เรื่องนี้ (ความเป็นมาและความส าคัญ) อยากรู้อะไรบ้างจากการวิจัย (วัตถุประสงค์ของการวิจัย) มีแนวทาง

               ขั้นตอนการด าเนินงานวิจัยอย่างไร (ปฏิทินปฏิบัติงาน) การวิจัยนี้จะเป็นประโยชน์อย่างไร (ประโยชน์ของ
               การวิจัยหรือผลที่คาดว่าจะได้รับ) เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยอย่างง่าย ประกอบด้วยหัวข้อและค าอธิบาย

               การเขียน ดังต่อไปนี้

                          1.  ชื่อโครงการวิจัย  ชื่อโครงการวิจัยควรกะทัดรัด สื่อความหมายได้ชัดเจน มีความ

               เฉพาะเจาะจงในสิ่งที่ศึกษา

                          2.  ความเป็นมาและความส าคัญ เขียนอธิบายให้เห็นความส าคัญของสิ่งที่ศึกษาเขียนให้ตรง
               ประเด็น กระชับเป็นเหตุเป็นผล มีอ้างอิงเอกสารที่ศึกษา (ถ้ามี)

                          3.  วัตถุประสงค์ของการวิจัย เขียนให้สอดคล้องกับชื่อโครงการวิจัย ครอบคลุมเรื่องที่ศึกษา

               เขียนให้ชัดเจน อาจมีข้อเดียว หรือหลายข้อก็ได้
                          4.  วิธีด าเนินการวิจัย ระบุถึงวิธีการด าเนินการวิจัย ให้ครอบคลุมหัวข้อต่อไปนี้

                              4.1 ประชากรกลุ่มตัวอย่าง สิ่งที่ศึกษาคืออะไร มีจ านวนเท่าไร

                              4.2 วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ระบุวิธีการเก็บการบันทึกข้อมูล ระยะเวลา หรือช่วงเวลา
               สถานที่

                              4.3 เครื่องมือวิจัย ระบุชนิด เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เช่น แบบสอบถาม

               แบบสัมภาษณ์ แบบส ารวจ

                              4.4 การวิเคราะห์ข้อมูล ระบุวิธีการวิเคราะห์ข้อมูล สถิติที่ใช้
                          5.  ปฏิทินปฏิบัติงาน  เขียนขั้นตอนการด าเนินการวิจัยโดยละเอียด และระยะเวลาการ

               ด าเนินการแต่ละขั้นตอน
   235   236   237   238   239   240   241   242   243   244   245