Page 114 - Portrait Painting
P. 114
ศาสตราจารย์จิตร (ประกิต) บัวบุศย์
ี
อาจารย์เป็นนักประวัติศาสตร์โบราณคดี เป็นนักวิชาการ เป็นประติมากร เป็นสถาปนิกท่วาง
ี
รัฐธรรมนูญอนุสาวรีย์ประชาธิปไตยและ “ตึกกลาง” อาคารท่เป็นประธานของวิทยาลัยเพาะช่าง เป็นจิตรกร
ี
อาจารย์ชอบเขียนรูปนอกสถานท่กับอาจารย์เฟื้อ หริพิทักษ์ อยู่เสมอต้งแต่เป็นนักเรียนท่เพาะช่างจนไป
ี
ั
ี
ั
�
ื
ศึกษาระดับปริญญาโทจิตรกรรมและประติมากรรมท่ประเทศญี่ปุ่น รวมท้งท่ประเทศอเมริกาจากคาเช้อเชิญ
ี
ของ อาจารย์กมล ทัศนาญชลี เป็นแนวทางการเขียนรูปท่ต่อเนื่องยาวนานจนได้รับการยกย่องว่าเป็น
ี
Impressionist คนแรกของเมืองไทยที่ไม่ได้ใช้สีตามหลักวิทยาศาสตร์แบบ Impressionism แต่ใช้สีสด ๆ
จากหลอดโดยตรง ไม่ใช้พู่กันระบายสีแต่ใช้เกรียงปาดป้ายให้ภาพส่นสะเทือนด้วยระนาบสี ความสดจัดของ
ั
�
สี ทิศทางของเส้นและรูปทรงถูกย่อยสลายจากอุปกรณ์การทางานท่เรียกว่า เกรียง อาจารย์จิตร บัวบุศย์ ใช้
ี
เกรียงอันเดิมตั้งแต่อายุ 20 จนถึงอายุ 99 ปี
ผลงานจิตรกรรมของท่านอาจารย์มีลักษณะของสีและน�้าหนักแบบกระจาย แผ่ขยายถ่ายเทและสั่น
ึ
สะเทือนประสาทการรับรู้ ด้วยอิทธิพลจากศิลปะอิมเพลสชันนิสม์ (Impressionism) ท่เกิดข้นในยุโรป ค.ศ.
ี
1874 ที่สนใจหลักการใหม่ ๆ ของจิตรกรรม (ตอนนั้น) คือ "มิติของอากาศ" (Aerial Perspective) จากการ
ค้นพบทฤษฎีสีของเชฟเริล (Eugène Chevreul) และนักวิทยาศาสตร์ค้นพบทฤษฎีสีของแสงอาทิตย์ ท ี ่
ี
ี
ิ
ื
่
ื
่
่
เคลอนไหวเปลยนแปลงเฉดสี บอกเวลา และมส่วนในการเห็นโลกด้วยตาของเราให้สมจรง ความเคลอนไหว
ในจิตรกรรมแบบอิมเพลสชันนิสม์ (Impressionism) มี 2 หลักการคือ สีที่ทับซ้อนกันในอากาศมีลักษณะ
เป็นจุดละอองเล็ก ๆ ซ้อนถี่ขึ้นเรื่อย ๆ เรียกว่าระยะ คือ ค่อย ๆ ลดก�าลังส่องแสงสว่างลงเพราะเกิดการ
แบ่งและรวมตัวกันของสีจากวัตถุรอบข้าง เช่น วัตถุสีแดง 2 ชิ้นวางอยู่ในระยะไกลจะเห็นชัดน้อยกว่าที่วาง
อยู่ระยะใกล้ และอีกประการหนึ่งของความเคลื่อนไหวแบบอิมเพลสชันนิสม์ (Impressionism) คือการใช้
ฝีแปรง
ในการปาดป้ายรูปทรงและสรรพสิ่งด้วยความเร็วท�าให้เกิดการเปิดรูปทรง (Open Form) ท�าให้ทุก
ี
อย่างหักเหขยับและเคล่อนท่ซ่งเป็นวิธีท่ อาจารย์จิตร (ประกิต) บัวบุศย์ ใช้สร้างสรรค์ตลอดชีวิตการทางาน
ื
ี
�
ึ
�
ี
และการเดินทางในประเทศไทย, ในญ่ปุ่น, ตอนรอนแรมอยู่ในเรือหลายเดือน ทุก ๆ เหตุการณ์สาคัญในชีวิต
จิตรกรรมของท่านอาจารย์จึงเปรียบประดุจ "ส�าเนา" ของชีวิต
สัญลักษณ์ในกระบวนการสร้างสรรค์
1. ผู้เขียนใช้หลักการเขียนภาพของอาจารย์จิตร บัวบุศย์ เขียนภาพเหมือนอาจารย์จิตร บัวบุศย์
และใช้เกรียงที่เป็นทั้งอุปกรณ์และสัญลักษณ์ความเป็นตัวตนในการเขียนภาพท่านอาจารย์
ี
2. ใช้ชุดสีท่ท่านอาจารย์ใช้บ่อยท่สุดหลังจากการประมวลผลงานจิตรกรรมของท่านทุกชุดปรากฏ
ี
้
ื
ว่าท่านใช้แม่สีเป็นหลักคือ เหลือง แดง นาเงิน เน่องจากสามารถสร้างสีเฉดอ่นได้จากหลัก
ื
�
ทฤษฎีและสียังสดใสหากใช้เกรียงผสมสี (สีแผ่ขยายตัวทับซ้อนกันแต่สีจะผสมกันจนเฉดสีหม่น
หากใช้พู่กัน) และอีกสาเหตุหน่งเป็นเพราะท่ใช้จานสีขนาดเล็ก วาดภาพขนาดเล็ก และใช้
ี
ึ
เกรียงวาดรูป เพราะท่านเขียนรูปนอกสถานที่ ซึ่งต้องการความคล่องตัว
113 | จิตรกรรมภาพคน PORTRAIT PAINTING