Page 119 - Portrait Painting
P. 119
ภาพผลงาน “จิตรกรรมภาพคน” ชิ้นส�าคัญ
ภายใต้แนวทาง “ความสัมพันธ์”
ระหว่าง “กระบวนการสร้างสรรค์ จิตรกร และแบบบุคคล”
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9
ภาษาที่ใช้สื่อสาร
1. การสื่ออารมณ์ความรู้สึก
1.1 ใช้รูปแบบเหมือนจริง
- ควบคุมฝีแปรง Sfumato
- ปลดปล่อยฝีแปรง
1.2 ใช้ทัศนธาตุ
- ใช้สีเป็นสื่อภาษา
- ใช้การขับเน้นค่าน�้าหนักแสงเงาในงานจิตรกรรม
- ขับเน้นพื้นผิวในการแสดงออกทางจิตรกรรม
2. มุ่งเน้นความคิดในการสร้างสรรค์
2.1 ด้วยระบบสัญญะ สัญลักษณ์
- รูปลักษณ์บางอย่างที่มีความหมายอยู่ในตัวมันเอง
- รูปลักษณ์บางอย่างที่มีความผิดไปจากเดิม
- เทียบความหมาย 2 ชุด เพื่อสื่อความหมายใหม่
- สร้างความหมายจากการก�าหนดมุมมอง
- การใช้สีสื่อความหมาย
2.2 สื่อความคิดผ่านกระบวนการสร้างสรรค์
- ใช้วัสดุอุปกรณ์ที่มีเนื้อหา และสัมพันธ์กับการสร้างสรรค์
(ระหว่างวัสดุอุปกรณ์ กรรมวิธี และการแสดงออกของศิลปิน)
1. ใช้วัสดุอุปกรณ์อื่น ๆ ที่มีนัยแฝงเพื่อสื่อสาร
2. ใช้วัสดุอุปกรณ์ทางจิตรกรรมแบบปกติ เพื่อหาความเป็นไปได้ใหม่ ๆ ใน
การแสดงออก
2.3 การสร้างนิยามใหม่ในการสร้างสรรค์ศิลปะ เช่น
กลุ่ม Pre - Raphaelite เขียนพระเจ้าเป็นปุถุชน คืออุดมคติสู่ความจริง
Realistic เขียนโสเภณี, คนจร : ความไม่สูงส่ง
Impressionist สีของแสงจากวิทยาศาสตร์
Jesper John จิตรกรรมไม่ใช่ภาพลวงตาหรือหน้าต่าง มันคือวัตถุ 8
8 วราวุฒิ โตอุรวงศ์. (2560). เอกสารประกอบการสอน วิชาจิตรกรรม 1 (Painting 1). กรุงเทพฯ : ภาควิชาจิตรกรรม คณะ
จิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. หน้า 35 - 60
118 | จิตรกรรมภาพคน PORTRAIT PAINTING