Page 117 - Portrait Painting
P. 117
ด็อกเตอร์ถวัลย์ ดัชนี
ั
ั
ึ
ท่านอาจารย์คืออัจฉริยบุคคลท้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ ท้งในแง่ของบุคคลคนหน่ง
ู
่
้
้
้
ิ
ิ
ั
ิ
ิ
ั
ิ
ั
์
ิ
้
และในฐานะศลปนผสรางสรรค ทงผลงานจตรกรรม, ประตมากรรม, สถาปตยกรรม, ศลปะกบสงแวดลอม
ี
(Environment Art) และศิลปะจัดวาง (Installation) ด้วยอัตลักษณ์อันแจ่มจัดท้งความงดงาม ละเมยด
ั
ละไม และแหลมคมในงานประติมากรรม ความเข้มขลังและทรงพลังมีอ�านาจ และชวนให้ย�าเกรงใน
ี
ิ
ผลงาน ท้งจิตรกรรม, ประติมากรรม และศิลปะจัดวาง ในขณะท่สถาปัตยกรรมและศิลปะกับส่ง
ั
แวดล้อมนั้นงามสง่าได้อย่างศิวิไลซ์ สูงส่งอย่างสูงสุดที่ถ้อยค�าใด ๆ จะอธิบายได้ ทั้งคมคายฉลาดหลัก
แหลมเหนือมนุษย์ประดุจเทพเทวดาเป็นผู้สร้าง
มีคนกล่าวว่าท่านเป็น “มนุษย์ต่างดาว” บางคนบอกว่าท่านเป็น “เทพ” และผู้คนส่วนใหญ่
ยอมรับว่าท่านน่าจะเป็น “อัจฉริยะ” เพราะท่านอาจารย์เป็นผู้ท่มีความฉลาดมาก สติปัญญาสว่างไสว,
ี
พูดได้ 5 ภาษา และมีความจ�าประดุจภาพถ่าย คือถ้าอ่านหนังสือก็จ�าได้ทุกหน้าและทุกตัวอักษร….. นี่
คือความจริง..... ท่านอาจารย์เป็นความยิ่งใหญ่ที่อ่อนโยนมาก ใจดี อารมณ์ดี และมีค�าพูดที่สะกดผู้ฟัง
ไม่ว่าจะคนไทย คนต่างชาติ เด็กหรือผู้ใหญ่ พระหรือนักปราชญ์ นักวิทยาศาสตร์หรือนักประวัติศาสตร์
ั
โบราณคดี เพราะท่านรู้และเข้าใจศาสตร์น้นลึกจนถึงแก่น พร้อมกับมีถ้อยคา, ใช้ถ้อยคาอันไพเราะเป็น
�
�
บทกวีสัมผัส คล้องจองมีจังหวะพริ้วไหว และฉะฉานเป็นปรัชญาทั้งสิ้น..... ดังนั้นท่านจึงเปรียบได้กับ
“ปรากฏการณ์ของชาติ” ซึ่งมีเกิดขึ้นไม่บ่อยนักในประวัติศาสตร์
ั
ผู้เขียนเขียนภาพอาจารย์ถวัลย์ ดัชนี โดยเร่มจากภาพถ่ายผสมกับภาพจาท้งความคิดความรู้สึก
ิ
�
้
ั
ี
�
ี
ึ
และจิตรกรรมท่ค่อย ๆ ปรากฏข้นต่อหน้า ด้วยเทคนิคสีนามันบนผ้าใบท่ถนัด ส่วนข้นตอนการระบายส ี
ช้า เร็ว หนัก เบา ก็ปล่อยให้เกิดขึ้นอย่างอิสระจากการเผชิญหน้ากับการท�างานโดยตรง โดยประเมิน
ผลสัมฤทธ์จากคาตอบลึก ๆ ว่า ใช่ หรือ ไม่ใช่ ? เน่องด้วยผู้เขียนให้ความเคารพต่อท่านอาจารย์อย่างสูง
ิ
�
ื
ี
ท่านอาจารย์เป็นอัจฉริยะอย่างไร้ข้อสงสัย ผู้เขียนจึงปฏิเสธท่จะแสดงความหมายมากมายเหล่าน้น แต่
ั
เลือกที่จะใช้ภาพจิตรกรรมแสดงความรู้สึกถึงท่านอาจารย์
สัญลักษณ์และวิธีการ
1. ผู้เขียนใช้ชุดสีท่คิดและรู้สึกว่า “ทรงพลัง” มากท่สุด ตระหง่านสง่างาม เป็นแสงในตัว
ี
ี
เพื่อสื่อถึงท่านผู้เป็นดั่งแสงสว่างแห่งพุทธิปัญญาของสังคม
้
2. ใช้ระดับค่านาหนักมืด – สว่าง อย่างถึงขีดสุดของไวยากรณ์เพ่อแสดงถึงบุคลิกภาพอัน
�
ื
หนักแน่นและมั่นคง
3. ใช้ทัศนียวิทยา (Perspective) ในการวางรูปทรงให้สูงเหนือเส้นระดับสายตาของผู้ชม
เพื่อให้รูปทรงนั้นดูสูงส่ง
116 | จิตรกรรมภาพคน PORTRAIT PAINTING