Page 44 - Portrait Painting
P. 44
สีน�้า (Water Colors)
ิ
ประวัติการใช้สีนาในฐานะของอุปกรณ์การวาดภาพเร่มมีต้งแต่ในยุคเรเนสซองส์ (Renaissance) แต่
ั
�
้
ึ
่
ิ
่
ี
ื
้
ี
ี
่
ี
ั
้
ิ
�
่
ื
เนองจากในช่วงแรกกระดาษเป็นสงทหายากจงไม่แพร่หลายมากนก สนาเกดจากส่วนผสมของเนอสทบด
ึ
แล้วอย่างละเอียด (Pigment) ผสมกับกัมอารบิก (Gum Arabic) ซ่งสกัดมาจากต้นอะคาเซีย (Acacia Tree)
้
�
มีคุณสมบัติละลายนาง่ายเกาะติดกระดาษแน่นและโปร่งใส โดยปกติแล้วจะไม่นิยมผสมสีขาวสามารถทาให้
�
อ่อนลงด้วยการผสมน�้าในปริมาณมากขึ้น คุณสมบัติที่น่าสนใจของสีน�้า คือ
ลักษณะโปร่งใส (Transparent Quality)
ี
ื
ื
ี
เน่องจากเน้อสีถูกบดจนละเอียดท่ผสมกับกาว เม่อระบายลงบนกระดาษจึงมีลักษณะท่โปร่งแสงและ
ื
โปร่งใส การระบายสีนาจึงควรเป็นการระบายไปทีเดียว ไม่ควรซาหรือระบายทับกันเพราะจะทาให้สีเกิด
�
�
้
�
้
ความขุ่นหรือเกิดความเป็นด่างดวงขึ้นภายในภาพ
ลักษณะเปียกชุ่ม ( Soft Quality )
ื
�
้
้
�
�
ื
�
ด้วยอาศัยนาเป็นตัวทาละลายทาให้เม่อระบายสีเสร็จแล้วรอจนแห้งจะเห็นว่ามีความชุ่มช่นของนา
อยู่ภายในภาพ ในกรณีที่ใช้สีชุ่มบ้างแห้งบ้างแล้วปล่อยให้แห้งก็จะเกิดเป็นคราบของสีอันเป็นคุณสมบัติท ่ ี
พิเศษของสีน�้า ด้วยลักษณะดังกล่าวนี้จึงมีเทคนิคการเขียนสีน�้าที่มีความน่าสนใจอยู่ 4 แบบ ได้แก่
้
�
ี
1. การระบายแบบเปียกบนเปียก (Wet on Wet) คือการระบายสีท่มีความชุ่มของนาลง
ไปบนกระดาษที่มีความชุ่มของน�้า
2. การระบายแบบเปียกบนแห้ง (Wet on Dry) คือการระบายสีที่มีความชุ่มของน�้าลง
บนกระดาษที่แห้ง
�
้
3. การระบายแบบแห้งบนแห้ง (Dry on Dry) คือการระบายสีท่ผสมนาน้อยลงบน
ี
กระดาษที่แห้ง
ี
ื
4. การระบายแบบแห้งบนเปียก (Dry on Wet) คอการระบายสทผสมนาน้อยลงบน
ี
่
้
�
กระดาษที่ชุ่มน�้า
ผลงานสีน�้าอาจเรียกได้ว่าเป็นความสมบูรณ์ทางด้านบรรยากาศและบริเวณว่าง คือมีความน่าสนใจ
�
ของพ้นท่ว่างจากการเว้นขาวซ่งต้องอาศัยความเข้าใจของผู้สร้างสรรค์ น่นหมายความว่าผู้สร้างสรรค์สีนา
ึ
้
ื
ั
ี
เห็นภาพรวมของผลงานก่อนที่ผลงานจะเสร็จนั่นเอง
43 | จิตรกรรมภาพคน PORTRAIT PAINTING