Page 41 - Portrait Painting
P. 41

หมึก (Ink)

                                                                                                    ี
                                                     ิ
                                                                          ั
                        การใช้หมึกในการสร้างสรรค์ไม่ใช่ส่งใหม่แต่เกิดมาก่อนแล้วต้งแต่ในภาพวาดผนังถาเก่าแก่ท่ El
                                                                                            �
                                                                                            ้
                  Castillo ทางเหนือของสเปน และ Sulawesi ในอินโดนีเซีย ในยุคนี้หมึกท�ามาจากเลือดของสัตว์และพืช
                  บางชนิด การพัฒนาการเขียนหมึกเกิดขึ้นประมาณ 2,500 ปีก่อนคริสต์ศักราชในเวลาใกล้เคียงกันทั้งใน
                  อียิปต์และจีน หมึกสี หมึกพิมพ์ใช้ชนิดของคาร์บอนที่เรียกว่าหลอดไฟสีด�าซึ่งถูกสร้างขึ้นโดยการเผาไหม้
                  บางส่วนด้วยน�้ามันดินและน�้ามันพืชในปริมาณน้อย เม็ดสีถูกแขวนลอยไว้ในกาว เพื่อให้แน่ใจว่ายึดติดกับ

                  พื้นผิว
                                                                                 ้
                                                                                 �
                        หมึกจีนโบราณแบ่งโดยวัตถุดิบเป็นสองประเภทคือทาจากไม้สนและนามันสกัด โดยนาวัตถุดิบท ี ่
                                                                                              �
                                                                   �
                                                                                                ื
                                                      �
                                                           ื
                  คัดสรรดีแล้วไปเผา เก็บรวบรวมเขม่าควัน ตาให้เน้อแน่นกับกาว (กาวสกัดจากเอ็นกวาง ปลา หรอไข่ขาว)
                  และของหอม (เช่น กานพลู ต้นฝาง นมแมว) จนผสมกันเป็นเนื้อเดียว โดยหมึกจากไม้สนจะให้สีีด�าออก
                  น�้าเงิน ถ้าฝนให้เข้มมากจะกลายเป็นสีด�าสนิท ส่วนหมึกจากน�้ามันจะให้สีน�้าตาล ถ้าฝนให้ด�ามากจะด�า
                  ขลับจนมีความเงา
                        ปัจจุบันมีหมึกส�าเร็จรูปขาย ส่วนใหญ่จะใช้สีด�าส�าเร็จรูปและกาวเคมี มีข้อดีคือไม่ต้องฝนแต่มีโทน
                     ี
                              �
                                                                         ี
                  สีท่ตายตัวจึงทาให้ขาดความมีชีวิตชีวาดังเช่นหมึกฝนและกาวเคมีท่ผสมไว้มากจะล้างออกยากและกัดขน
                  พู่กัน ชาวจีนรู้จักหมึกในศตวรรษที่ 23 ก่อนคริสต์ศักราช ด้วยการท�าหมึกจากพืช สัตว์และแร่ ใช้ส�าหรับ
                  การวาดภาพบนผ้าไหมและกระดาษ หมึกที่ดีที่สุดท�าจากไม้สนซึ่งมีอายุระหว่าง 50 ถึง 100 ปี นอกจาก

                                                                                     �
                                                               �
                                               ี
                  น้ยังทาหมึกจากส่วนผสมของกาวท่ผสมด้วยคาร์บอนสีดา Lampblack และเม็ดสีดาจากกระดูกท่ถูกผสม
                                                                                                 ี
                       �
                    ี
                  กับสีชอล์คและปูน
                        ในประเทศอินเดียหมึกถูกสร้างขึ้นตั้งแต่ศตวรรษที่ 4 ก่อนคริสต์ศักราช หมึกชนิดนี้เรียกว่า "Masi"
                  ทาจากกระดูกไหม้นามันดิน ชาวกรีกและชาวโรมันทาหมึกจากกาวและนา (เรียกว่า "หมึกพิมพ์คาร์บอน")
                                                                             �
                                                                             ้
                                   ้
                    �
                                                             �
                                   �
                  นอกจากนี้ยังมีสีอินเดียอิงค์ (India Ink) หรือสีหมึกด�าที่ถึงแม้จะมีชื่อว่าอินเดียอิงค์แต่มีที่มาจากประเทศ
                                                                        �
                                                                     ึ
                                                                                                   ่
                                                                                                   ี
                                                                                             ึ
                                                                                      �
                                                                                                    ี
                                                                                      ้
                                                                                                    ่
                           ั
                                  ้
                                  ี
                  จน หมกดงกล่าวนได้มาจากถ่านไม้ทเผาจนเป็นสดา จากนนจงนามาบดและผสมนา รวมถงกาวทเคยว
                   ี
                         ึ
                                                            �
                                                           ี
                                                                   ้
                                                                   ั
                                                 ่
                                                 ี
                  จากเอ็นสัตว์ให้เป็นเน้อเดียวกัน ก่อนจะอัดเป็นแท่งหรือแผ่นแล้วตากจนแห้ง สามารถเก็บไว้ใช้ได้เป็นเวลา
                                    ื
                  นาน เมื่อต้องการใช้ก็น�าแท่งหมึกมาฝนกับหินแล้วเติมน�้า ก็จะได้หมึกส�าหรับใช้งาน หากเป็นบุคคลชั้นสูง
                  เช่น ฮ่องเต้ เชื้อพระวงศ์ หรือขุนนางชั้นผู้ใหญ่จะมีจานฝนหมึกที่ท�าขึ้นโดยเฉพาะ ถือเป็นเครื่องใช้ประจ�า
                  ตนที่แสดงถึงฐานะของบุคคล
                        การสร้างสรรค์ศิลปะในปัจจุบัน หมึกจีนเป็นที่นิยมมากที่สุด เนื่องจากสามารถหาซื้อได้ง่ายและมี
                  ราคาที่ถูก อีกประการคือความนิยมในการเขียนพู่กันของชาวตะวันออก (จีน ญี่ปุ่น ฯลฯ) ที่มีการสืบทอด
                  กันต่อมาจนถึงปัจจุบันท�าให้การเขียนหมึกจีนเป็นที่นิยม ทั้งในด้านงานเขียนอักษรและการวาดภาพด้วย
                  หมึกจีนและยังถูกจัดเป็นศิลปะชั้นสูงอีกด้วย
                                              40 | จิตรกรรมภาพคน PORTRAIT PAINTING
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46