Page 37 - Portrait Painting
P. 37
ในปี พ.ศ. 2481 ถึง พ.ศ. 2487 รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม
�
�
ประเทศกาลังเข้าสู่ช่วงพัฒนาทาให้มีความจาเป็นต้องใช้ศิลปกรรม
�
ศาสตราจารย์คอราโด เฟโรจี (Prof. Corrado Feroci) มอบหมาย
ให้ลูกศิษย์ปั้นรูปประติมากรรมประดับฐานอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย
และอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ท�าให้จอมพล ป. พิบูลสงคราม เห็นความ
ั
�
ของสาคัญของศิลปะต่อชุมชน จึงมี พ.ร.บ. สถาปนาให้จัดต้งโรงเรียน
ศิลปากรขึ้นเป็นมหาวิทยาลัยศิลปากร ในปี พ.ศ. 2486 มีอาจารย์ที่
เข้ามาเป็นผู้ช่วยในสายทฤษฎีหรือด้านวิชาการในยุคแรก ๆ คือ เขียน
ยิ้มศิริ, เฟื้อ หริพิทักษ์, พิมาน มูลประมุข, สวัสดิ์ สันติสุข, ประยูร อุ
ลุชาฎะ และชลูด นิ่มเสมอ
ั
ี
ในช่วงปี พ.ศ. 2483 อิตาลีภายแพ้ในสงครามโลกคร้งท่ 2
ผลงาน “Red Shirt” เทคนิคสีน�้ามันบนไม้ เพอหลีกเล่ยงการเป็นเชลยศึก ศาสตราจารย์คอราโด เฟโรจี (Prof.
ี
ื
่
ปี พ.ศ. 2502 โดย ชลูด นิ่มเสมอ Corrado Feroci) จึงได้เปลี่ยนสัญชาติเป็นสัญชาติไทย และเปลี่ยน
ขนาด 100 x 78 เซนติเมตร ช่อเป็น ศิลป์ พีระศรี ในปี พ.ศ. 2548
ื
นอกไปจากน้นแล้วศาสตราจารย์ศิลป์ยังได้เป็นกาลังหลักใน
ั
�
การผลักดันให้เกิดการประกวดวาดเส้นจิตรกรรมและประติมากรรม
จนเกิดเป็นงานแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2492 ขึ้นซึ่ง
ั
ู
ู
ั
ิ
ุ
อยู่ในรชสมัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หวภมพลอดลยเดช
รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี
ี
นอกจากประติมากรรมท่ทาตามคาส่งรัฐบาลแล้วงาน
�
�
ั
ี
ิ
ประติมากรรมภาพเหมือนท่เน้นการแสดงออกตามปัจเจกบุคคลก็เร่ม
ปรากฏโดยอาจารย์ศิลป์ พีระศรี ซึ่งสร้างสรรค์ตามความพึงพอใจไป
พร้อมกับการสะท้อนความเป็นสังคม หรือศิลปินหัวก้าวหน้าในไทย
ปรากฏให้เห็นจากผลงานของขุนปฏิบัติภาพพิมพ์ลิขิต เป็นอาจารย์
่
ี
�
ึ
พระบรมสาทิสลักษณ์พระบาทสมเด็จ ในโรงเรียนเพาะช่างท่เคยได้ราเรียนอยู่ในยุโรป ซ่งถือได้ว่าเป็นคน
ึ
ี
พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ไทยคนแรกท่เขียนภาพในแนวอิมเพรสชันนิสติค ซ่งน่าเสียดายว่าไม่ม ี
ี
สีน�้ามันบนผ้าใบ โดย เฉลิม นาคีรักษ์ ภาพเหลือมาให้เห็นยังปัจจุบัน เหลือเพียงภาพเหมือนสีชอล์คท่เขียน
ี
ขนาด 80 x 120 เซนติเมตร อาจารย์ศิลป์ พีระศรี โดยลูกศิษย์คือ เฟื้อ หริพิทักษ์ ท่พอจะนับได้ว่า
ึ
แหล่งที่มา : http://ebooks.dusit.ac.th/ เป็นศิลปะในแนวอิมเพรสชันนิสม์ยุคแรก ๆ ของไทย ซ่งเฟื้อ หริพิทักษ์
sdubook/ob-content. เคยได้ศึกษากับอาจารย์ศิลป์ พีระศรี
ั
ปัจจุบนจิตรกรรมภาพคนเป็นเร่องท่แพร่หลายได้รับความนิยม
ื
ี
จนเสมือนว่าเป็นเรื่องปกติธรรมดา แต่ทว่าเส้นทางการสร้างสรรค์ที่
ผ่านมาน้นเก่ยวโยงกับประวัติศาสตร์ชาติไทยอย่างเหนียวแน่น ท้ง ั
ี
ั
การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม ความเชื่อประเพณี
ซ่งหมายรวมถึงกรรมวิธีทางเทคนิคของตัวจิตรกรรมเองก็พัฒนาตาม
ึ
สังคมและสอดคล้องไปกับยุคสมัยเช่นกัน
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ภาพเขียนสีน�้ามัน
โดย สนิท ดิษฐพันธุ์ ปี พ.ศ. 2516 ขนาด 87 x 57 เซนติเมตร
แหล่งที่มา : หนังสือจิตรกรรมและประติมากรรมแบบตะวันตกในราชส�านัก 1
2 สุธี คุณาวิชยานนท์. จากสยามเก่าสู่ไทยใหม่. กรุงเทพฯ : บริษัทอัมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จ�ากัด (มหาชน). 2545. 50.
36 | จิตรกรรมภาพคน PORTRAIT PAINTING