Page 34 - Portrait Painting
P. 34
พระบรมสาทสลกษณ์ครงพระองค์ โดยคาโรลส
ิ
่
ุ
ั
ึ
นอกจากมีความเหมือนแล้วยังสอดแทรกอารมณ์และความ
รู้สึกทาให้ภาพดูมีชีวิตชีวา สีท่ใช้ส่วนใหญ่ไปทางสีนาตาล
�
้
ี
�
�
และสีเหลือง เน้นความเด่นชัดด้วยสีดาและสีแดง การระบาย
ด้วยฝีแปรง (Painterly Style) แสดงความช�านาญในการ
ควบคุมฝีแปรง รวมทั้งการใช้สี แสงและเงาของผู้วาด โดย
จงใจให้เกิดรอยของพู่กันไม่เกลี่ยให้เรียบเนียน มีการแต้มสี
ั
ี
ท่สดใสพร้อมท้งการเล่นฝีแปรงลงบนเคร่องราชอิสริยาภรณ์
ื
เพ่อให้ดูเป็นประกายระยิบระยับ ส่วนรายละเอียดพระ
ื
พักตร์นั้นเขียนได้อย่างมีอารมณ์และมีชีวิตชีวาเหมือนจริง
ในปี พ.ศ. 2450 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า
ี
เจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระท่นั่ง
ี
ึ
ั
อนนตสมาคมข้นบริเวณวังสวนดุสิตโดยมีสถาปัตยกรรมท่ม ี
ี
ลักษณะรูปแบบท่หลากหลาย เช่น สมัยฟื้นฟูศิลปะวิทยา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จากหนังสือ
(Renaissance) สมัยบาโรก (Baroque) และสมัยนีโอคลาส Temples and Elephant ของ Carl Bock ปี พ.ศ.2427
ึ
สิก (Neoclassicism) งานจิตรกรรมท่สาคัญซ่งปรากฏอยู่ แหล่งที่มา : แหล่งที่มา : หนังสือจิตรกรรมและ
ี
�
บนเพดานของโดมแสดงพระราชกรณียกิจและเหตุการณ์ ประติมากรรมแบบตะวันตกในราชส�านัก 1
สาคัญในราชวงศ์จักรี การจัดองค์ประกอบเป็น ไปตามรูป
�
แบบและวิธีการของศิลปะตะวันตก คือใช้หลักเกณฑ์
ทัศนียภาพวิทยา (Perspective) ทรงมีพระราชประสงค์ที่
จะให้ แกลิเลโอ คินี (Galileo Chini) จิตรกรชาวอิตาลีเดิน
ทางมายังประเทศไทยเพื่อเขียนภาพเพดานโดม
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ภาพเขียนสี
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ภาพเขียนสีน�้ามัน ชอล์ค โดย Cesare Ferro ปี พ.ศ. 2449 ภาพวาดขณะ
โดย Charles Emile Auguste Carolus - Duran ปี พ.ศ. 2450 ประทับนั่งหน้าพระที่นั่งอภิเศกดุสิต โดยมี Cesare Ferro
ขนาด 62 x 52.5 เซนติเมตร และหลวงสรลักษณ์ลิขิต เขียนพระบรมสาทิสลักษณ์
แหล่งที่มา : หนังสือจิตรกรรมและประติมากรรมแบบตะวันตกใน แหล่งที่มา : หนังสือจิตรกรรมและประติมากรรมแบบตะวัน
ราชส�านัก 1 ตกในราชส�านัก 1
33 | จิตรกรรมภาพคน PORTRAIT PAINTING