Page 36 - Portrait Painting
P. 36
ั
ี
ศาสตราจารย์คอราโด เฟโรจ (Prof. Corrado Feroci) อาศย
ึ
การปั้นพระพักตร์สมเด็จเจ้าพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ซ่งทรงประทับ
เป็นแบบ และได้รับโอกาสปฏิบัติงานปั้นพระบรมรูปพระบาท
ิ
่
�
้
สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวจากพระองค์จริง และเรมตนทาการ
้
่
ั
ี
ุ
่
ั
สอนวิชาชางและศิลปะตะวนตกใหแกคนไทย นกเรยนในชดแรกเป็น
ข้าราชการในกรมศิลปากรเพื่อให้เป็นผู้ช่วยในการปั้นพระบรมรูป
รัชกาลท่ 1 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เชน
ี
่
สาย ประฏิมากร, สุข อยู่มั่น และแช่ม แดงชมภู แรกเริ่มได้วาง
หลักสูตรอบรมแก่ผู้สนใจในวิชาประติมากรรมซ่งส่วนมากจบมา ศาสตราจารย์คอราโด เฟโรจี
ึ
จากโรงเรียนเพาะช่างโดยไม่เก็บค่าธรรมเนียม (ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี)
ั
ในรชสมยพระบาทสมเดจพระปกเกล้าเจ้าอยู่หว การ แหล่งที่มา : http://www.focuskorat.com/
ั
ั
็
ึ
เรียนการสอนมีการพัฒนาข้นต่อมาจึงมีการจัดต้งโรงเรียน archives/2075
ั
ประณีตศิลปกรรมข้น โดยศาสตราจารย์คอราโด เฟโรจี (Prof.
ึ
ี
Corrado Feroci) ได้ร่างหลักสูตรการเรียนการสอนท่มีต้นแบบ
มาจากสถาบันศิลปะแบบยุโรป โดยเฉพาะจากสถาบันที่จบมา
คอ ราชวิทยาลัยศิลปะแห่งนครฟลอเรนซ์ (The Royal Academy
ื
ั
of Art of Florence) หลักสูตรวิชาการท้งภาคทฤษฎีและปฏิบัต ิ
ถูกวางไว้อย่างเข้มงวดเพ่อให้ได้มาตราฐานแบบศิลปะตามหลัก
ื
วิชาของตะวันตก (Academic Art) วิชาการทางทฤษฎี เช่น
โปรเจ็คช่น (Projection) แสงและเงา ทัศนียวิทยา (Perspective)
ั
ศิลปวิจารณ์ สุนทรียศาสตร์ ทฤษฎีสีและสถาปัตยกรรมไทย
�
วิชาทางภาคประติมากรรม ได้แก่ การปั้นภาพนูนตา นูนสูง และ
่
ลอยตัว วิชาภาคจิตรกรรม ได้แก่ การฝึกวาดเส้นดินสอ วาดเส้น
ี
ั
้
ถ่าน สีนา สีนามัน และสฝุ่น ภายหลงได้รวมโรงเรียนเข้ากับ
้
�
�
ื
่
โรงเรียนนาฏยดุริยางคศาสตร์ และเปลยนชอเป็น “โรงเรยน
ี
ี
่
ศลปากรแผนกชาง” และเหตุการณ์การเปล่ยนแปลงทางการเมือง Professor Silpa Bhirasri สีน�้ามัน โดย
ิ
ี
่
ท�าให้สถาบันพระมหากษัตริย์ในยุคหลังปี พ.ศ. 2475 ไม่ได้เป็น เฟื้อ หริพิทักษ์ ปี พ.ศ. 2505
ผู้ผลักดันศิลปะและวัฒนธรรมโดยตรงอีก ขนาด 104 x 83 เซนติเมตร
ประติมากรรุ่นแรก ๆ และเป็นบรมครูของศิลปะสมัยใหม่ แหล่งที่มา : http://www.rama9art.org/arti-
ในไทย ได้แก่ อาจารย์สิทธิเดช แสงหิรัญ อาจารย์ปกรณ์ เล็กสน san/6decade/work/workdec2_20.html
อาจารย์อนุจิตต์ แสงเดือน อาจารย์แสวง สงฆ์มั่งมี อาจารย์สนั่น
ศิลากรณ์ อาจารย์พิมาน มูลประมุข อาจารย์แช่ม แดงชมพ ู
อาจารย์ไพฑูรย์ เมืองสมบูรณ์ อาจารย์เขียน ยิ้มศิริ และอาจารย์
เฟื้อ หริพิทักษ์
ผลงาน “สุวรรณี” เทคนิคภาพพิมพ์แกะไม้ ปี พ.ศ. 2502
โดย ชลูด นิ่มเสมอ ขนาด 41.5 x 49 เซนติเมตร
แหล่งที่มา : http://www.era.su.ac.th/Artists/thai/chalood/suwane.html
35 | จิตรกรรมภาพคน PORTRAIT PAINTING