Page 35 - Portrait Painting
P. 35

ี
                        ในปี พ.ศ. 2451 ตรงกับปีท่ประกอบพระราชพิธีรัชมังคลาภิเษกคร้งใหญ่ หลวงสรลักษณ์ลิขิตได้เขียน
                                                                            ั
                                                                  ู
                                                                                                      ็
                                                                      ื
                  พระบรมสาทิสลักษณ์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยหัวเพ่อน้อมเกล้าถวาย การจัดองค์ประกอบเปน
                                                                  ่
                  ไปตามหลักวิชาการทางตะวันตกและเขียนพระพักตร์ได้เหมือนจริงมาก นับได้ว่าเป็นภาพเขียนสุดท้ายท ่ ี
                  จิตรกรได้มีโอกาสศึกษาจากพระองค์จริง ก่อนเสด็จสวรรคตในปี พ.ศ. 2453
                                                              ปี พ.ศ. 2453 ที่แกลิเลโอ คินี (Galileo Chini) เดิน
                                                         ทางมาถึงกรุงเทพมหานครในเดือนสิงหาคม เขาจึงได้ทราบ
                                                         ข่าวว่าพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จ
                                                         สวรรคต และได้เปล่ยนเป็นรัชสมัยพระบาทสมเด็จ
                                                                           ี
                                                         พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวแล้ว อย่างไรก็ตามแกลิเลโอ คินี
                                                         (Galileo Chini) ก็ยังคงได้รับการว่าจ้างจากกรมโยธาให้
                                                         เขียนภาพบนโดมพระท่น่งอนันตสมาคมร่วมกับจิตรกรชาว
                                                                           ี
                                                                             ั
                                                         อิตาเลียนคนอื่น ๆ ในขณะนั้น
                                                              ในปีพุทธศักราช 2456 แกลิเลโอ คินี (Galileo
                                                         Chini) ได้เขียนภาพพระบรมสาทิสลักษณ์พระบาทสมเด็จ
                                                         พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวด้วยเทคนิคอย่างศิลปะอิมเพรสชัน
                                                                                   ี
                                                                             ึ
                                                         นิสม์ (Impressionism) ซ่งเป็นท่นิยมในช่วงปลายศตวรรษ
                                                                                                     ี
                                                          ี
                                                                         ี
                                                         ท่ 19 เน้นการใช้สีท่มีความสว่าง มีการแต้มสีเหลือง สฟ้า
                                                         สีชมพู เพ่อให้ดูเป็นประกายระยิบระยับ บริเวณพระพักตร์
                                                                ื
                                                         ใช้รอยแปรงค่อนข้างเรียบเพื่อให้ดูนุ่มนวลยิ่งขึ้น
                                                                           ี
                                                              การได้แลกเปล่ยนความคิดกันระหว่างจิตรกรชาว
                                                         ตะวันตกและผู้มีความเกี่ยวข้องกับการช่างไทยในสมัยนั้น
                                                          �
                                                         ทาให้จิตรกรไทยหันมาเขียนพระบรมสาทิสลักษณ์กันมาก
                       พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว   ข้น และได้รับความนิยมมากพอ ๆ กับพระบรมฉายาลักษณ์
                                                          ึ
                       ภาพเขียนสีน�้ามัน โดย พระสรลักษณ์ลิขิต   แต่ในขณะเดียวกันในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า
                      ปี พ.ศ. 2451 ขนาด 216 x 111 เซนติเมตร  เจ้าอยู่หัวก็ทรงโปรดงานศิลปวัฒนธรรมมาก ทรงมีนโยบาย
                   แหล่งที่มา : หนังสือจิตรกรรมและประติมากรรมแบบ  ที่เป็นชาตินิยมเพื่อฟื้นฟูศิลปะและวัฒนธรรมสยาม แต่ถึง
                             ตะวันตกในราชส�านัก 1
                                                         กระน้นพระองค์ก็ยังทรงสนับสนุนให้มีการสร้างงานแบบ
                                                             ั
                                                         ตะวันตกต่อไป
                                                              ในช่วงปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า
                                                                    ั
                                                         เจ้าอยหัวทางรฐบาลไทยมีความประสงคจะหาประติมากร
                                                              ่
                                                              ู
                                                                                         ์
                                                         ชาวตะวันตกปฏิบัติงานราชการและสอนคนไทยปั้น จึง
                                                         ติดต่อไปยังอิตาลี ทางรัฐบาลอิตาลีจึงคัดเลือกคอราโด
                                                         เฟโรจี (Corrado Feroci) ประติมากรชาวฟลอเรนซ์ ให้
                                                         เดินทางมายังประเทศไทยในปี พ.ศ. 2466 เข้าท�างานเป็น
                                                         ราชการช่างปั้นในกรมศิลป์เพื่อสร้างอนุสาวรีย์




                                                        พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ภาพเขียนสีน�้ามัน
                                                        โดย Galileo Chini ปี พ.ศ. 2450 ขนาด 127 x 127 เซนติเมตร
                                                        แหล่งที่มา : หนังสือจิตรกรรมและประติมากรรมแบบตะวันตกในราช
                                                        ส�านัก 1


                                              34 | จิตรกรรมภาพคน PORTRAIT PAINTING
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40