Page 29 - Portrait Painting
P. 29
ี
ภาพวาดคณะทูตจากกรุงศรีอยุธยาท่ไปเจริญสัมพันธ์ไมตร ี
กับฝรั่งเศส เมื่อปี พ.ศ. 2229 จากซ้าย ออกพระวิสุทธสุนทร
(ปาน) ราชทูต, ออกหลวงกัลยาราชไมตรี อุปทูต, ออกขุนศรี
วิสารวาจา ตรีทูต
แหล่งที่มา : https://today.line.me/th/pc/article/
ต้งแต่กรุงแตกจนกระท่งรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธ
ั
ั
ยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงสถาปนากรุงเทพมหานครเป็น
่
ี
ิ
้
ิ
่
ราชธานี ในช่วงต้นรัตนโกสินทร์ (ช่วงรัชกาลท่ 1 - 3) ไดเรมตดตอ
การค้ากับชาวยุโรปและอเมริกาอีกคร้ง แต่ไม่ได้รับอิทธิพลทาง
ั
ศิลปะเข้ามา มีการนากล้องถ่ายภาพเข้ามาโดยท่านสังฆราชชาว
�
ั
ฝร่งเศสช่อ ฌ็อง - บาติสต์ ปาลกัว (Jean - Baptiste Pallegoix)
ื
และเร่มปรากฏประติมากรรมท่สร้างเลียนแบบให้เหมือนบุคคลจริง
ิ
ี
รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ ชาว
ิ
ไทยเร่มรับอิทธิพลการวาดภาพเหมือนจากชาวตะวันตกเพราะ
การขยายอาณานิคม มีการส่งภาพวาดสมัยสมเด็จพระนารายณ์
เพ่อเป็นเคร่องราชบรรณาการ แม้ภาพวาดชาวสยามจะไม่ม ี พระบรมสาทิสลักษณ์สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
ื
ื
ความเหมือนมากนัก แต่ก็เป็นดังจุดเริ่มต้นที่ส�าคัญ โดยในช่วง โดย P.Bertrand ชาวฝรั่งเศส พิมพ์ที่ปารีส ราว
แรกปรากฏในประติมากรรมมากกว่าจิตรกรรม ความเด่นชัด พ.ศ. 2230 มีลักษณะผิดเพี้ยนไปจากความจริง
ของการเปลี่ยนแปลงทางด้านศิลปกรรมคือภาพเขียนจิตรกรรม แหล่งที่มา : https://www.facebook.com /Wi-
ั
ฝาผนงของขรว อนโข่ง ซงมการสร้างความลกและมมมอง pakHistory/posts/14676323533 00230:0
ิ
ึ
ั
ุ
ึ
ี
่
(Perspective) ที่เป็นระยะใกล้ กลาง ไกล ด้วยการเขียนให้มี
�
้
นาหนักแสงเงา ภาพท่ปรากฏจึงไม่แบนแต่เป็นการลวงตาคล้าย
ี
แบบตะวันตก แต่ใช้เทคนิคจิตรกรรมสีฝุ่นไม่ใช่สีน�้ามัน
การเข้ามาของวัฒนธรรมตะวันตกโดยผ่านราชทูต มิช-
ิ
�
ื
ชันนาร พ่อค้า และนักเดินเรือ ทาให้เกิดการต่นตัวและริเร่ม
ี
ปฏิบัติตนให้มีความทันสมัย ทั้งการศึกษา การแต่งกาย รวมถึง
�
เทคโนโลยี โดยมีการนาส่งพิมพ์และแท่นพิมพ์เข้ามาในประเทศ
ิ
�
ทาให้ชาวไทยเรมสนใจหนงสอภาพประกอบและภาพลายเส้น
ั
ื
่
ิ
มากขึ้นด้วย
ประติมากรรมที่ปรากฏในสมัยรัชกาลที่ 3 สร้างให้
เหมือนสมเด็จพระสังฆราช (สุก ไก่เถื่อน) ที่วัดราช
สิทธาราม
แหล่งที่มา : https://tci-thaijo.org/index.php/
damrong/article/download/21550/18596
28 | จิตรกรรมภาพคน PORTRAIT PAINTING