Page 28 - Portrait Painting
P. 28
ประวัติของการเขียนภาพบุคคลในประเทศไทย
ื
เม่อวันท่ 14 มกราคม พ.ศ. 2466 ศาสตราจารย์ศิลป์
ี
พระศร เดินทางจากประเทศอิตาลีมารับราชการเป็นอาจารย์ช่าง
ี
ี
ปั้นหล่อแผนกศิลปากรสถานแห่งราชบัณฑิตยสภา และได้รับการ
ิ
เชิดชูให้เป็นบดาแห่งศิลปะสมัยใหม่ของไทยในเวลาต่อมา การมา
ของศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศิลป์ คือการมาถึงขององค์ความรู้
ี
ให้เป็นท่ก้าวหน้าแปลกใหม่แบบยุโรปท่พัฒนามาอย่างเป็นข้น
ั
ี
เป็นตอน จากอดีตอันยาวนานโดยเฉพาะในประเด็นเร่อง
ื
จิตรกรรมภาพคนกับสังคมไทยก็ไม่ต่างจากยุโรป คือมีจุดเริ่มต้น
มาจาก “ภาพ” ที่ใช้ในพิธีกรรมเกี่ยวกับความตาย ภาพเหมือน
คือสัญลักษณ์ของความตาย
คนไทยในอดีตมีความกลัวต่อภาพเหมือนบุคคลเพราะม ี
�
วิญญาณร้ายสิงสู่อยู่ ทาให้ไม่เคยมีการบันทึกภาพเหมือนคนเป็นไว้
ั
ี
พระบรมสาทิสลักษณ์สมเด็จพระนารายณ์ จนกระท่งในสมัยอยุธยาท่สมเด็จพระนารายณ์มหาราชส่งคณะ
�
มหาราชทรงรับพระราชสาส์นจากราชทูตของ ราชทูตสยามนาโดยเจ้าพระยาโกษาธิบดี (ปาน) เข้าเฝ้าพระเจ้า
ั
�
ี
พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 โดย ฌ็อง – บัปติสต์ โน หลุยส์ท่ 14 ณ ประเทศฝร่งเศสในปี ค.ศ. 1689 ทาให้มีการปรากฏ
แลง (Jean - Baptiste Nolin) พิมพ์ที่กรุง ภาพเหมือนชาวสยามในต่างแดน แต่ยังไม่ปรากฏภาพเหมือนใน
ปารีส ประเทศฝรั่งเศส ปี พ.ศ. 2230 สยามประเทศ ในหนังสือของบาทหลวง ฟร็องซัว - ตีมอเลอง เดอ
แหล่งที่มา : https://www.silpa-mag.com/ ชัวซีย์ (François - Timoléon de Choisy) เป็นพระบรม
wp-content/uploads สาทิสลักษณ์ของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงรับพระราชสาส์น
ของพระเจ้าหลุยส์ท่ 14 นาเข้ามาถวายโดยคณะทูตชาวฝร่งเศส
�
ี
ั
เชอวาลิเอร์ เดอ โชมองต์ (Chevalier de Chaumont) และ
พระบรมสาทิสลักษณ์ของพระองค์ประทับบนหลังช้างทรงคู่กับ
พระมเหสี
็
พระบรมสาทิสลักษณ์ท่เก่าท่สุดของสมเดจพระนารายณ์
ี
ี
มหาราช วาดโดย ปิแอร์ แบร์ทรังด์ (P.Bertrand) ในปี พ.ศ.
ึ
2230 ซ่งมีการดัดแปลงให้มีลักษณะของความเป็นตะวันตกจน
ไม่มีความเหมือน แต่ในทางวัตถุประสงค์เพ่อเผยแพร่ภาพลักษณ์
ื
่
�
บุรุษชาวตะวันออกผู้รารวยและใจกว้างน้นก็สามารถนับได้ว่า
ั
ประสบความส�าเร็จ
่
ี
ั
ี
นอกจากน้ยังมการบนทึกภาพคณะทูตไทยทไปเยือน
ี
ฝรั่งเศส เมื่อปี พ.ศ. 2229 วาดโดย ชอง ไฮเซลมาน (Jean Hain-
ิ
่
ั
ั
zelman) จตรกรเยอรมนทพานกในฝรงเศส ซงภายหลงภาพน ้ ี
่
ึ
่
�
ั
ี
ั
ื
ถูกส่งกลับมาเป็นเคร่องราชบรรณาการในสมัยพระบาทสมเด็จ
สมเด็จพระนารายณ์มหาราชประทับบนหลัง พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 แห่งราชวงศ์จักรี
ช้าง (จากหนังสือจดหมายเหตุการเยือนกรุง การสร้างภาพจาลองบุคคลสาหรับชาวสยามในขณะน้น
�
ั
�
สยามของบาทหลวงเดอชัวซีย์) มักตามมาด้วยความกลัวสิ่งอัปมงคล อาถรรพ์ความเชื่อและการ
ราวปี พ.ศ. 2473 ท�าคุณไสย การวาดภาพกษัตริย์ไทยในอดีตจึงเป็นความคิดและ
แหล่งที่มา : http://catholichaab.com/ ความต้องการของชาวตะวันตกเท่านั้น
main/images/study/saim3.jpg
27 | จิตรกรรมภาพคน PORTRAIT PAINTING