Page 41 - วิชาคณิตศาสตร์
P. 41
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๗
การประเมินผลการเรียนรู้
ขั้นตอนการประเมินผลการเรียนรู้
ขั้นตอนการประเมินผลการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ อาจดำาเนินการดังนี้
๑. วางแผนการประเมินผลการเรียนรู้ ผู้สอนและผู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น ผู้บริหาร ควรร่วมกันพิจารณากำาหนด
รูปแบบและช่วงเวลาการประเมินผลให้เหมาะสมและสอดคล้องกับจุดประสงค์และเป้าหมายของการประเมิน
ู
๒. สร้างคาถามหรืองานและเกณฑ์การให้คะแนนให้สอดคล้องกับสาระการเรียนร้และผลการเรียนร้ท ี ่
ำ
ู
คาดหวัง ถ้าผลการเรียนร้ท่คาดหวังเน้นความร้ความเข้าใจ การประยุกต์ความร้ไปใช้กับสถานการณ์ใหม วิธีการ
ี
ู
ู
่
ู
ประเมินอาจกระทาได้ในรูปการเขียนตอบ รูปแบบของคาถาม อาจเป็นคาถามให้ค้นหาคาตอบ ให้พิสูจน หรือ
ำ
ำ
ำ
ำ
์
แสดงเหตุผล ให้สร้างหรือตอบคำาถามปลายเปิดที่เน้นการคิดแก้ปัญหาและเชื่อมโยงความรู้หลายเรื่องเข้าด้วยกัน
ถ้าต้องการประเมินทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร และการตระหนักในคุณค่าของคณิตศาสตร ์
์
วิธีการประเมินอาจทำาได้ในรูปการให้ผู้เรียนปฏิบัติจริง ผู้สอนสังเกตกระบวนการทำางาน การพูดแสดงความคิดของ
ผู้เรียน ดูร่องรอยความชำานาญและความสามารถจากผลงาน ที่ปรากฏคำาถามหรืองานอาจอยู่ในรูปสถานการณ์หรือ
ู
ี
ู
ปัญหา ปัญหาปลายเปิดหรือโครงงานท่ผ้เรียนคิดข้นเอง นอกจากน้อาจใช้วิธีให้ผ้เรียนประเมินตนเองหรือประเมิน
ี
ึ
โดยกลุ่มเพื่อน
ี
ำ
การกาหนดเกณฑ์การให้คะแนนม ๒ แบบ คือ กาหนดเกณฑ์การให้คะแนนแบบ Analytic Scoring
ำ
ู
ื
Scale และแบบ Holistic Scoring Scale เกณฑ์การให้คะแนนแบบแรกอย่บนพ้นฐานการวิเคราะห์งานออกเป็น
ำ
ี
องค์ประกอบย่อยและกาหนดคะแนนสาหรับแต่ละองค์ประกอบย่อย ซ่งการให้คะแนนแบบน้ทาให้เห็นจุดเด่น
ำ
ำ
ึ
ำ
ำ
ี
ู
และจุดด้อยของผ้เรียนในแต่ละองค์ประกอบ สาหรับเกณฑ์การให้คะแนนแบบท่สอง เป็นการกาหนดคุณภาพใน
องค์รวมหรือภาพรวมของงานทั้งหมด
ู
้
ี
ิ
ั
ู
็
ำ
๓. จดระบบขอมลจากการวดและการประเมนผลการเรยนร ถาขอมลเปนผลจากการทาแบบทดสอบ
้
้
้
ู
ั
็
้
ิ
้
็
ึ
ื
ั
ู
ี
่
่
ู
้
หรอเขียนตอบ กควรเกบรวบรวมในรปคะแนน ถาขอมูลอยในรูปพฤตกรรมทสงเกตได กควรมระบบการบันทก
็
ี
่
ื
ู
แบบฟอร์มการบันทึกควรประกอบด้วย ส่วนนา คือ การระบุวัน เวลา สถานท ช่อผ้เรียน และผ้สังเกต เร่อง
ำ
ื
ี
ู
ท่เรียนและผลการเรียนร้ท่คาดหวัง ส่วนเน้อหา คือ การบันทึกรายละเอียดของงาน และพฤติกรรมต่างๆ ของ
ู
ี
ี
ื
ี
ผ้เรียนทปรากฏจริง ส่วนสรป คอ การตีความเบองต้นของผ้สังเกต พร้อมท้งระบุปัญหาหรืออุปสรรคท่เกิดข้น
ู
ึ
ื
ื
ุ
้
ั
ี
่
ู
การรวบรวมสารสนเทศเกี่ยวกับผลการเรียนรู้ของผู้เรียนต้องกระทำาหลายครั้ง และใช้ข้อมูลจากหลายด้าน
ี
์
ำ
ื
๔. นาข้อมูลจากการวัดผลและประเมินผลมาวิเคราะห์และสังเคราะห เพ่อให้ได้ข้อสรุปเก่ยวกับการ
ู
เรียนร้ของผ้เรียน โดยอาจจาแนกเป็นรายบุคคล รายกล่ม รายประเภท (ความคิดรวบยอด กระบวนการ เจตคต ิ
ู
ำ
ุ
ฯลฯ) และรายมาตรฐานการเรียนรู้
247