Page 62 - 1-ebookสายอากาศ
P. 62
52
บทที่ 5
บทสรุป
จากการสำรวจข้อมูลระดับสัญญาณในพื้นที่ กทม.-ปริมณฑลและต่างจังหวัดพบว่า ปัญหาของผู้ฟง
ั
ที่ไม่สามารถรับสัญญาณการกระจายเสียงจากสถานีวิทยุจุฬาฯได้นั้น สาเหตุหลักมาจากการเกิดขึ้นของวิทยุ
ชุมชนที่มีจำนวนมาก โดยเฉพาะวิทยุชุมชนที่พัฒนามาจากเสียงตามสายในหมู่บ้าน ที่ทำการ อบต. หรือวัด
ุ้
โดยใช้เครื่องส่งที่ไม่ได้มาตรฐาน ไม่ติดตั้งอุปกรณ์ควบคุมการแพร่คลื่นแปลกปลอมจึงทำให้เกิดการฟง
กระจายคลื่นรบกวนส่งกระจายเสียงสถานีข้างเคียง รวมถึงอาจเกิดคลื่น Harmonic ส่งไปรบกวนกิจการ
วิทยุการบิน สำหรับในพื้นที่ต่างจังหวัดวิทยุจุฬาฯถูกรบกวนด้วยคลื่นความถี่ทับซ้อน (Co Channel) คือ
101.5 MHz. และ ในส่วนกลาง กทม.-ปริมณฑลจะถูกรบกวนด้วย คลื่นข้างเคียง (Adjustment Channel)
101.25, 101.75 MHz. ในบางพื้นที่อาจมี 101.3หรือ 101.6 MHz. ส่งกระจายเสียงรบกวนเพมอก สรุปผล
ี
ิ่
การวัดและทดสอบได้ ดังนี้
5.1 รัศมีการแพร่กระจายคลื่นที่สามารถรับฟังสถานีวิทยุจุฬาฯ ในพื้นที่ต่างจังหวัด
ทิศ พื้นที่การรับฟังได ้
เหนือ ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง (บางพื้นที่ตอนล่าง)
ตะวันออเฉียงเหนือ สระบุรี นครราชสีมา (บ้านกลางดง)
ตะวันออก ฉะเชิงเทรา ชลบุรี
ตะวันตก สุพรรณบุรี กาญจนบุรี นครปฐม
ใต้ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม ราชบุรี เพชรบุรี (ท่ายาง)