Page 63 - 1-ebookสายอากาศ
P. 63
53
5.2 รัศมีการแพร่กระจายคลื่นที่สามารถรับฟังสถานีวิทยุจุฬาฯ ในพื้นที่กทม.และปริมณฑล
ระดับสัญญาณตั้งแต่ 45-75 dBm สามารถรับฟังวิทยุได้ระดับดีถึงดีมาก 80-90% ในทุกพื้น
ทิศ พื้นที่การรับฟังได้
เหนือ ปากเกร็ด คลองหลวง ปทุมธานี เกษตร 85-90%
ตะวันออก รามคำแหง ลาดกระบัง มีนบุรี บางพลี สำโรง ปากน้ำ 85-90%
ตะวันตก บางบัวทอง สนามบินน้ำ 85-90%
ใต้ พระราม 2 พุทธมณฑล สาย 5 85-90%
กทม. พญาไท บางบำหรุ ตั้งฮั่วเส็ง ธนบุรี 85-90%
5.3 ขอสังเกต
้
ี
1. ในทุกจังหวัดจะมคลื่นวิทยุชุมชนข้างเคียงคือ FM 101.25และ FM 101.75 MHz ส่งกระจายเสียง
รบกวนคลื่นหลักอยู่ประมาณ 90% ของพนที่
ื้
2. ในบางพื้นที่จะมีคลื่นวิทยุชุมชน FM 101.35และFM 101.60 MHz FM 101.65 MHz ส่งทับซ้อน
3. สรุประดับสัญญาณพื้นที่การส่งสัญญาณของกรุงเทพมหานครและปริมณฑล สามารถรับฟังได้ระดับดี
ในแทบทุกพื้นที่ (ถ้าไม่อยู่ใกล้วิทยุชุมชนเกินไป)
5.4 ประโยชน์ที่ได้รับจากการพัฒนาระบบ
จากข้อมูลการรบกวนคลื่นจากวิทยุชุมชนที่ทางฝ่ายเทคนิคของสถานีทำการศึกษาและได้รับการร้องเรียน
จากทางผู้ฟังรายการถึงปัญหาที่เกิดขึ้นเนื่องจากเป็นเรื่องที่ทางสถานีไม่สามารถควบคุมได้ ทำได้เพียงส่ง
ข้อมูลข้อร้องเรียนเป็นรายงานให้ กสทช. ทราบเป็นข้อมูล ทางผู้บริหารและฝ่ายเทคนิคได้ร่วมประชุมกัน
เพื่อแก้ปัญหามาโดยตลอดจึงได้มีมติให้ฝ่ายเทคนิคร่วมกับฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศของทางสถานีเพิ่มช่อง
ทางการเข้าถึงรายการและกิจกรรมต่างๆของทางสถานี โดยอาศัยเทคโนโลยีที่ทันสมัยในรูปแบบให้ผู้ฟังได้
เข้าถึงเป็นการรับสื่อแบบหลายช่องทาง Multi-Platform คู่ขนานกับการรับฟังคลื่นหลักของสถานี ดังนี้