Page 64 - 1-ebookสายอากาศ
P. 64
54
1. รับฟังทางอินเทอร์เน็ต http://www.curadio.chula.ac.th
2. สื่อสารแสดงความคิดเห็นผ่านทาง http://www.twitter.com/curadio
3. สื่อสารแสดงความคิดเห็นผ่านทาง http://www.intragram.com.curadio
4. รับชมและรับฟังย้อนหลังผ่านทาง http://www.youtube.com/curadiochannel
5. รับชมรายการสดภาพและเสียงทางhttp://www.facebook.com/curadio/videos
6. สื่อสารร่วมกิจกรรมผ่านทาง http://www.applicationline.com/curadio
จากาการนำเทคโนโลยีแบบหลายช่องทาง (Multi Platform) มาใช้กับสถานีวิทยุจุฬาฯพบว่าผู้ฟังจำนวน
ั
มากมีความพึงพอใจเป็นการนำระบบสาระสนเทศมาใช้แก้ปัญหาได้รับการตอบรับในทุกช่องทาง การพฒนา
์
ด้านภาพควบคู่กับด้านเสียงจึงเป็นการเสริมสร้างภาพลักษณให้แก่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แสดงให้เห็นถึง
ศักยภาพการเป็นผู้นำด้านสื่อที่มีคุณภาพอย่างแท้จริง
5.5 ข้อเสนอแนะ
1. ให้ภาครัฐใช้กฎหมายข้อบังคับให้สถานีวิทยุชุมชนปฏิบัติตามกฎหมายอย่างเคร่งครัด เช่นกำลังส่ง
ต้องไม่เกิน 500 วัตต์ เสาส่งสูงจากพื้นดินไม่เกิน 60 เมตร ทุกสถานีต้องติดตั้งและใช้เครื่องป้องกันการส่ง
สัญญาณคลื่นแปลกปลอม ตามมาตรฐาน ITU พร้อมให้ส่งรายงานด้านเทคนิคต่อ กสทช.ทุกปี
2. กสทช.เร่งออกข้อกำหนดมาตรฐานวิทยุระบบดิจิทัลมาใช้งานแทนระบบอนาล็อกโดยเร็ว
รายการอ้าอิง
1. Thomas R. Ray : “HD Radio Implementation”, Focal Press, 2008.
2. Walter Fischer : “Digital Video and Audio Broadcasting Technology”,
Springer , Second Edition 2008.
3. David P. Maxon : “ The IBOC Handbook”, Focal Press, 2008
5. ไพโรจน์ ปิ่นแก้ว : เอกสารประกอบการบรรยาย Radio Mobile, 2554.
6. สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และโทรคมนาคมแห่งชาติ(กสทช.)
: “เอกสารมาตรฐานทางเทคนิค กิจการบริการชุมชน (วิทยุกระจายเสียง
ชุมชน)ฉบับชั่วคราว 2551
7. รายงานประจำปี 2555 – 2559 “สถานีวิทยุแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย”