Page 64 - 1-ebookสายอากาศ
P. 64
54
ผลการวัดพบวาคาอัตราสวนการสะทอนกลับ Return Loss มีคา 33.72 dB มีคาสูงกวา
ี่
ั
มาตรฐาน (ITU- Definition According to Rec., 2013) กําหนดไวท 10 dB คาอตราสวนคลื่นยืน
ี
ี่
Voltage Standard Ratio VSWR มคา 1: 1.36 เปนคาทใกลเคียงกับ 1 : 1 และคา Input Impedance
ี
วัดได 76 Ω ใกลเคยง 75 โอหมที่ยานความถี่ใชงาน
5.1.2 ผลการวัดภาคสนาม (Field Test)
ื
ั
่
ติดตงสายอากาศตนแบบวัดภาคสนามบนดาดฟา ชั้น 20 อาคารเจริญวิศวกรรมเพอหาคา
้
ี
ิ
อัตราขยายอางองกับสายอากาศไดโพลมาตรฐานและเปรียบเทียบกบสายอากาศของเดิมทีไมมวงจร
่
ั
ี
ิ
ั
่
ภาคขยายสัญญาณกบสายอากาศตนแบบทออกแบบเพ่มวงจรขยายสัญญาณฝงลงไปในสายอากาศ
ี
ี
พบวาอัตราขยายของสายอากาศตนแบบท่มวงจรภาคขยายสัญญาณวัดระดับสัญญาณได 14.2 dB
เปรียบเทียบกับสายอากาศแบบไมมีภาคขยายสัญญาณวัดได 6 dB แสดงใหเห็นวาสายอากาศ
มีอัตราขยายสูงขึ้น 8.2 dB
ี
ตารางที่ 5.3 เปรียบเทยบอัตราขยายของสายอากาศ 2 ชนิดยานความถี่โทรทัศนระบบดิจิทัล
Frequency (MHz) Antenna (dB) Active Antenna (dB)
510-790 6 14
ั
5.1.3 ประสิทธิภาพการรับสญญาณในรถ
ในการรับสัญญาณในพนที่ กทม.ปริมณฑลและตางจังหวัด เมื่อทําการติดตั้งสายอากาศ 3 ชนิด
ื้
คอ สายอากาศยาก 5 ตวประกอบ สายอากาศโมโนโพลแบบมภาคขยายสัญญาณทจําหนาย
ั
ี
ื
ิ
ี
่
ี
ี
่
้
ึ
่
ในทองตลาด และสายอากาศชนิดออนตนแบบทมีภาคขยายสัญญาณทผูวิจัยออกแบบและสรางขน
่
พบวา สายอากาศตนแบบมีประสิทธิภาพรับสัญญาณเฉลียมีคาสูงสุด ตามดวยสายอากาศโมโนโพลและ
สายอากาศยากิ 5 ตัวประกอบ แตท้งนี้ในบางพ้นทขณะรถวิงหากสายอากาศยากิหันดานหนาเขาหา
ั
่
ี
ื
่
่
ี
สถานีสงโครงขายจะมคาสูงเนืองจากคุณสมบัติของสายอากาศ สรุปภาพรวมพบวาสายอากาศตนแบบ
สามารถรับสัญญาณไดที่ความเร็วเฉลี่ย 80-100 กม./ชั่วโมงไดตลอดระยะทางแตถาความเร็วสูงกวานี้จะ
ี
รับสัญญาณไดเปนชวง ๆ ท้งนี้ข้นอยูกับตัวแปรสภาพแวดลอมในพ้นท่ เชนมีอาคารสูงหรือมตนไม
ั
ึ
ี
ื
บริเวณขางถนน สะพานลอย สายไฟฟาแรงสูงหรือขณะรถวิ่งแซงบดบังทําใหลดทอนระดับสัญญาณลง
สรุปผลการวัดแบงออกเปนพื้นที่ กทม. ปริมณฑลและพื้นที่ตางจังหวัด ดังนี้