Page 66 - 1-ebookสายอากาศ
P. 66
56
ตารางที่ 5.6 ผลการวัดในหองสภาพแวดลอมใชงานจริง
Antenna Type Ch. Power C/N MER
(dBµV) (dB) (dB)
Flexible Active Ant ตนแบบ 74.4 36.9 16.2
ผลสรุปทําการติดตั้งเครื่องวัดในหองผนังคอนกรีตภายใน ชั้น 12 อาคารเจริญวิศวกรรมท ี่
ถูกบังดวยอาคารวิศวะฯ 100 ป พบวาระดับสัญญาณสูงกวา 70 dBµV แสดงใหเห็นวาสายอากาศ
มีประสิทธิภาพสูงในการรับสัญญาณในสภาพแวดลอมเมื่อนําไปติดตั้งใชงานจริง
5.2 วิเคราะหผลการวัดและทดสอบ
ี
ี
จากผลการวัดและทดสอบพบวาสายอากาศแบบเดิมท่ไมมภาคขยายสัญญาณจะมีอัตราขยาย
ี
6 dB การออกแบบวงจรภาคขยายฝงลงบนแผนสายอากาศจากงานวิจัยนี้พบวาสายอากาศมอัตราขยาย
ิ
ึ
่
สูงถง 14 dB การทดลองโดยนําสายอากาศไปตดต้งกบกระจกภายในรถยนตเพอทดสอบประสิทธิภาพ
ื
ั
ั
่
้
ื
้
่
การรับสัญญาณในขณะรถวิงทังในพนที กทม. ปริมณฑลและตางจังหวัด ผลการวัดแสดงใหเห็นวาเมื่อรถ
ี
ื
้
วิ่งในรัศมทสถานีโครงขายครอบคลุมถงสามารถรับสัญญาณไดด คอ ในพนท่ตางจังหวัดระดบสัญญาณ
ั
ึ
ื
ี
่
ี
ี
50-60 dBµV ที่ความเร็ว 80 กม./ชม.โดยสัญญาณไมเกิดการกระตุก ในขณะที่พื้นที่ กทม.และปริมณฑล
ระดับสัญญาณ 50-70 dBµV ทีความเร็ว 80-100 กม./ชม.โดยสัญญาณไมเกิดการกระตก แสดงถึง
ุ
่
ี
ี
่
่
ประสิทธิภาพของสายอากาศสามารถรับสัญญาณไดขณะเคลื่อนทเมอเปรียบเทยบกบสายอากาศทวาง
ี
ื
่
ั
จําหนายในทองตลาดพบวาสายอากาศตนแบบมีประสิทธิภาพสูงกวา ดังนั้นการนําสายอากาศตนแบบ
ั
ไปติดต้งอยูกับท่ภายในหองสภาพใชงานจริงเชนอาคารชุดคอนโดมิเนียมในสภาพหองจะเปนผนัง
ี
ี
่
ู
ั
คอนกรีตเสริมเหล็ก จึงไมมปญหาเนืองจากสายอากาศถกออกแบบใหรับสัญญาณไดแบบรอบตวและ
ึ้
การเพมวงจรภาคขยายสัญญาณฝงไวในตัวสายอากาศจึงทาใหอตราขยายของสายอากาศสูงขนสามารถ
ิ่
ํ
ั
แกปญหาการรับสัญญาณในบริเวณพื้นที่สัญญาณออนหรือหางไกลจากสถานีโครงขาย