Page 59 - E-Book-Teerapong-รวมผลงานSandbox
P. 59
โครงการจัดตั้งและบริหารงานศูนย์ทดสอบ 5G
อย่างไรก็ตาม เมื่อได้ติดตั้งแล้วเสร็จ นักวิจัยในโครงการต่างๆ สามารถเข้ามาใช้งานเพอให้
ื่
งานวิจัยเสร็จตามแผนงานได้
3. การด าเนินการตามประกาศ Regulatory Sandbox
สามารถด าเนินการได้โดยไม่มีปัญหาอุปสรรคใด
4. การจัดงาน 5G For Real
การจัดงานบรรลุวัตถุประสงค์ที่ต้องการ มีผู้สนใจจ านวนมาก
5. การติดตั้งอุปกรณ์โครงข่าย 5G ในพื้นที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เรื่องนี้มีความเปลี่ยนแปลงจากแผนเดิมที่วางไว้ ว่าผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่รวม
ไปถึงผู้ผลิตอุปกรณ์จะน าอุปกรณ์มาติดตั้งในบริเวณจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งแต่ช่วงแรก
ของการด าเนินโครงการ แต่ปรากฏว่าในช่วงแรกของการด าเนินโครงการนั้น กสทช. อยู่
ระหว่างการออกประกาศเรื่อง “หลักเกณฑ์การอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่เพื่อการพัฒนาและ
ทดสอบนวัตกรรมในพื้นที่ก ากับดูแลเป็นการเฉพาะ” (Regulatory Sandbox) การ
ด าเนินการที่เกี่ยวกับอุปกรณ์โครงข่ายจึงต้องรอความชัดเจนจากประกาศนี้ก่อน
ต่อมาเมื่อประกาศฉบับนี้มีผลบังคับใช้ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจึงไดด าเนินการขอ
้
เป็นผู้ประสานงานพื้นที่ก ากับดูแลเป็นการเฉพาะ เพื่อให้ผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่สามารถ
ติดตั้งอุปกรณ์โครงข่ายในพื้นที่ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อด าเนินการตามข้อเสนอ
โครงการวิจัยได้ ซึ่งได้รับอนุญาตเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2562 อย่างไรก็ตาม การด าเนินการ
เพื่อขอติดตั้งอุปกรณ์ตามประกาศนี้ใช้ระยะเวลาอยู่บ้าง ซึ่ง กสทช. ได้ก าหนดวันประมูลคลื่น
ความถี่ที่สามารถน าไปให้บริการ 5G เชิงพาณิชย์ได้ เป็นวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2563 ดังนั้น
เงื่อนไขด้านเวลาจึงทับซ้อนกัน ระหว่างการติดตั้งโครงข่ายเพื่อทดลองทดสอบตามประกาศ
5G sandbox กับการติดตั้งโครงข่ายเพื่อให้บริการเชิงพาณิชย์ ซึ่งในที่สุดแล้ว ผู้ให้บริการ
โทรคมนาคมเลือกที่จะใช้ใบอนุญาตใช้งานคลื่นความถี่ที่ได้ประมูลจาก กสทช. ในการท าวิจัย
ุ
ร่วมกับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยการปรับปรุงอปกรณ์โครงข่ายส าหรับให้บริการเชิง
พาณิชย์ที่ได้ติดตั้งไว้แล้วในบริเวณจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และพื้นที่ใกล้เคียง ให้เป็นระบบ
5G และให้ยืมอุปกรณ์ปลายทางแก่นักวิจัยของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยส าหรับการท าวิจัย
[เลขที่สัญญารับทุน E.๖๒-๐-(๒)-๐๐๑] 49
แบบ กทปส. ME-003