Page 64 - E-Book-Teerapong-รวมผลงานSandbox
P. 64
โครงการจัดตั้งและบริหารงานศูนย์ทดสอบ 5G
เป้าหมาย ผลการประเมินด้านประสิทธิผล
ซึ่งมีพื้นที่เขตการศึกษาเกือบ 600 ไร่ การติดตั้ง
โครงสร้างพื้นฐานส าหรับ Local 5G เป็นเรื่อง
ที่ยังไม่สามารถท าได้ในปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่าง
ยิ่งเมื่อต้องซื้ออุปกรณ์มาใช้งาน นอกจากนี้ ทาง
โครงการได้พยายามขอทุนสนับสนุนการวิจัย
เพิ่มเติมจากภาครัฐ เพื่อจัดซื้อครุภัณฑ์บางส่วน
มาจัดท าเป็นกรณีศึกษา แต่ว่ายังไม่ได้รับการ
สนับสนุนทุนวิจัย
ด าเนินการขออนุญาตให้พื้นที่ของจุฬาลงกรณ์ โครงการสามารถท าได้ตามเป้าหมาย
มหาวิทยาลัยเป็นพื้นที่ก ากับดูแลเฉพาะ ตาม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้รับอนุญาตโดย
ประกาศ กสทช. เรื่อง “หลักเกณฑ์การอนุญาต ก าหนดระยะเวลาอนุญาตตั้งแต่วันที่ 11
ให้ใช้คลื่นความถี่เพื่อการพัฒนาและทดสอบ ธันวาคม 2562 ถึงวันที่ 10 ธันวาคม 2567 มีผู้
นวัตกรรมในพื้นที่ก ากับดูแลเป็นการเฉพาะ” ให้บริการโทรคมนาคมและผู้ผลิตอุปกรณ์
(Regulatory Sandbox) และก าหนดแนวทาง โทรคมนาคมจ านวนหนึ่ง ให้ความสนใจในการ
เปิดโอกาสให้ บริษัท/ผู้พัฒนารายย่อย/ธุรกิจ เข้ามาใช้งานพื้นที่ Sandbox
Startup สามารถเข้ามาร่วมพัฒนานวัตกรรม
ภายในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได ้
การประเมินโครงการด้านประสิทธิภาพ
การประเมินประสิทธิภาพของโครงการ พิจารณาด้านงบประมาณ คุณภาพของงาน และ
ระยะเวลาการด าเนินงาน ส าหรับกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในโครงการ พบว่าเกือบทุกโครงการ
สามารถบริหารจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพดี ใช้ทรัพยากรและแรงงานในการท าวิจัยอย่างคุ้มค่า ใช้
ศักยภาพของนักวิจัยอย่างเต็มที่ มีวิธีการด าเนินงานให้ได้คุณภาพสูงสุด ทั้งนี้ หากโครงการนี้ได้รับทุน
สนับสนุนในปีต่อๆ ไป จะคุ้มค่ากับครุภัณฑ์หลายๆ รายการที่ได้ลงทุนไปในปีแรก
รายการ / กิจกรรม ผลการประเมิน
การปรับปรุงพื้นที่อาคารจุฬาพัฒน์ 14 เป็นห้อง การด าเนินโครงการมีประสิทธิภาพดีมาก
วิจัยและพื้นที่นิทรรศการ คือ ท าปรับปรุงพื้นที่แล้วเสร็จตามแผนงาน
ทั้งหมด โดยใช้ระยะเวลาตามแผนงานคือเสร็จ
[เลขที่สัญญารับทุน E.๖๒-๐-(๒)-๐๐๑] 54
แบบ กทปส. ME-003