Page 62 - E-Book-Teerapong-รวมผลงานSandbox
P. 62

โครงการจัดตั้งและบริหารงานศูนย์ทดสอบ 5G







                                       เป้าหมาย                         ผลการประเมินด้านประสิทธิผล
                                                                 ในพื้นที่ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อ

                                                                 สนับสนุนการท าวิจัย และการทดสอบทาง

                                                                 เทคนิคต่างๆ แต่เมื่อเกิดการประมูลคลื่นความถี่
                                                                 ส าหรับการให้บริการ 5G ในเชิงพาณิชย์ขึ้น เมื่อ

                                                                 เดือนกุมภาพันธ์ 2563 ทางผู้ให้บริการ

                                                                 โทรคมนาคมจึงได้เปลี่ยนแผนงานเป็นติดตั้ง
                                                                 โครงข่ายเพื่อใช้งานเชิงพาณิชย์โดยครอบคลุม

                                                                 พื้นที่ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การท าวิจัยที่

                                                                 เกี่ยวข้องได้เปลี่ยนไปใช้โครงเชิงพาณิชย์ของผู้
                                                                 ให้บริการ จึงไม่มีอุปกรณ์โครงข่ายของผู้

                                                                 ให้บริการโทรคมนาคมเข้ามาติดตั้งในพื้นที่ที่

                                                                 ศูนย์ได้เตรียมไว  ้
                        การเตรียมโครงสร้างพื้นฐาน (อุปกรณ์ต่างๆ ที่ โครงการท าได้ต ่ากว่าเป้าหมาย หลังจากท า

                        จ าเป็น) เพื่อรองรับการสร้างโครงข่าย 5G ขนาด การประเมินด้านราคาแล้ว การเป็นผู้ให้บริการ

                        เล็กมาก (ทางยุโรปเรียกว่า Private network  โครงข่าย 5G ขนาดเล็กมาก ยังต้องใช้เงินลงทุน
                        หรือทางญี่ปุ่นเรียกว่า Local 5G หรือ Micro- ที่สูงมาก เมื่อเปรียบเทียบกับการวางโครงข่าย

                        operator) เพื่อเป็นต้นแบบส าคัญในการพัฒนา ระดับ Enterprise และอุปกรณ์โครงข่ายใน

                        รูปแบบการก ากับดูแล กิจการระบบโทรศัพท์  ระดับที่เล็กกว่า Carrier grade นั้น ไม่ได้อยู่ใน
                        เคลื่อนที่ในยุคที่ 5 สมัยใหม่ที่จะมีผู้ประกอบการ  อันดับความส าคัญแรกๆ ในการวิจัยและพัฒนา

                        ขนาดเล็กมากคู่ขนานกับการมีผู้ประกอบการ ของผู้ผลิตอุปกรณ์โครงข่าย เพราะต้องใช้

                        ขนาดใหญ่                                 เวลานาน กว่าจะถึงจุดคุ้มทุน ดังนั้นแนวโน้ม
                                                                 การเกิดของโครงข่ายขนาดเล็กมาก มีความ

                                                                 เป็นไปได้ยากในประเทศไทย

                                                                      จากการศึกษาเกี่ยวกับการจัดท า Local 5G
                                                                 ส าหรับโรงงานหรือพื้นที่เฉพาะ เช่น

                                                                 ห้างสรรพสินค้า ชั้นใต้ดิน ซึ่งสัญญาณ 5G ไม่

                                                                 ครอบคลุม ได้ข้อมูลดังนี้





                       [เลขที่สัญญารับทุน E.๖๒-๐-(๒)-๐๐๑]                                              52

                                                                                        แบบ กทปส. ME-003
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67