Page 103 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 103

A2-202
19th HA National Forum
 มาตรฐานท่ีควรให้ความสาคัญ ได้แก่
• I-1.2 ก.(3) การวางระบบกากับดูแลทางคลินิก
• I-1.2 ข.(3) ประเด็นทางจริยธรรมที่ยากลาบากในการตัดสินใจ • I-4.2 ข.(3) การส่งข้อมูลผู้ป่วยโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์
• I-6.1 จ การจัดการด้านการเรียนการสอนทางคลินิก
• II-1.2 การบริหารความเส่ียง
• II-6.1 ก.(5) แผนงานใช้ยาสมเหตุผล
• มาตรฐานเกี่ยวกับ Patient Safety Goals
ภก.ปรมินทร์ วีระอนันตวัฒน์
ตัวอย่างและการขยายความ การทาความเข้าใจข้อกาหนดของมาตรฐานเพื่อการนาไปใช้
ตัวอย่างท่ี 1 มาตรฐานข้อ I-4.2 ข.(3) การส่งข้อมูลผู้ป่วยโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์
คาถามคือใครเป็นเจ้าภาพรับผิดชอบเรื่องนี้? ปัจจุบันนี้ทีมที่รับผิดชอบทางานแบบ system based หรือ unit based?
โจทย์ข้อที่ 1 คือ ทีมนาจะปรับอย่างไรให้เป็น system based?
โจทย์ข้อที่ 2 คือ ในโรงพยาบาลมีการใช้สื่อสังคมออนไลน์ในงานอะไรบ้าง? มีก่ีจุด? กี่แห่ง? และจะทาอย่างไรให้เกิด
สมดลุ ระหวา่ งสทิ ธผิ ปู้ ว่ ยกบั การดแู ลรกั ษา ภายใตบ้ รบิ ทของโรงพยาบาล เพราะการใชส้ อื่ สงั คมออนไลนเ์ ปน็ การสอื่ สารแบบ one to many
ซึ่งควบคุมไม่ได้ ดังนั้นโจทย์ต่อไปคือ จะควบคุมอย่างไร?
แนวทางการพั ฒนา
1. ทา survey ว่ามีการใช้สื่อสังคมออนไลน์ในงานอะไรบ้าง? มีกี่จุด? กี่แห่ง?
2. วิเคราะห์ว่าผู้ใช้ส่ือมี awareness มีความตระหนักหรือไม่? โดยสังเกตพฤติกรรมการใช้สื่อ ดูจากการกระทา
3. ออกแบบระบบให้สมดุลระหว่างสิทธิผู้ป่วยกับการดูแลรักษา
4. วางแผนตามรอยระบบเพื่อเรียนรู้ วางแผน และเกิด CQI
สิ่งสาคัญคือต้องมีเจ้าภาพที่ชัดเจน สร้างทีมจัดการในเชิงระบบ มีการเรียนรู้จากตัวเอง และเรียนรู้จากการจัดการระบบให้มีความสมดุล
ตัวอย่างท่ี 2 มาตรฐานข้อ II-3.2 ข.(2) ระบบสําารองสําาหรับก๊าซที่ใช้ทางการแพทย์
มาตรฐานขอ้ นเ้ี ปน็ ตวั อยา่ งของการเชอื่ มโยงทมี ENV. กบั ทมี รกั ษาพยาบาล หลกั คดิ สา คญั คอื ระบบสา รองกา๊ ซ O2 แตล่ ะตกึ ในโรงพยาบาล เปรียบเสหมือน air bag ของรถยนต์ มีไว้เพื่อรองรับภาวะฉุกเฉินท่ีคาดการณ์ไม่ได้ โรงพยาบาลจึงต้องรู้ว่าใครเป็นเจ้าภาพรับผิดชอบเรื่องน้ี และต้อง มีการศึกษามาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับก๊าซทางการแพทย์และก๊าซทางอุตสาหกรรม แล้วทาการสารวจเพื่อให้ทราบว่าแต่ละตึกมีระบบสารองก๊าซ O2 หรือไม่? มีกี่ตึก? จาเป็นต้องมีหรือไม่? เป็นระบบ manual หรืออัตโนมัติ? ใครเป็นผู้ดูแลระบบ? และเคยสื่อสารให้ผู้ใช้ทราบหรือไม่?
ตัวอย่างที่ 3 มาตรฐานข้อ II-6.1 ก(3) ระบบคอมพิวเตอร์สนับสนุนการจัดการระบบยา
เปรียบเหมือนการเปล่ียนกระบวนการทางาน/ระบบ ต้องมีการกาหนดเป้าหมายและแผนให้ชัดเจนโดยทีมนา มีการประกาศเป็นนโยบาย และนาโดยทีมนา ซึ่งระบบที่กาหนดให้แพทย์เป็นผู้คีย์ส่ังใช้ยา คือ CPOE (Computerized People Order Entry) มีเป้าหมายต้องการข้อมูล ที่สะดวกเพื่อใช้ในการดูแลผู้ป่วย และใช้ในการบริหารจัดการแบบ real time ผู้คีย์ข้อมูลจึงต้องเป็นวิชาชีพที่เชื่อถือได้
ประเด็นที่ต้องพิจารณาคือจะออกแบบระบบอย่างไรให้เห็นภาพรวมของการส่ังใช้ยา? สามารถเห็นข้อมูลในหน้าจอคอมพิวเตอร์ หน้าเดียวกันได้หรือไม่? การออกแบบระบบจึงต้องมีเภสัชกรตรวจสอบท่ีหน้าจอคอมพิวเตอร์เพื่อทบทวนตรวจสอบคาสั่งการใช้ยาของแพทย์ตั้งแต่ จุดแรกก่อนจัด – จ่ายยา อีกประเด็นหน่ึงคือถ้าพบปัญหาการสั่งใช้ยาจะทาอย่างไร? ใครสามารถแก้คาส่ังได้? เรื่องน้ีเช่ือมโยงกับการรักษาความลับ ข้อมูลในเวชระเบียนอย่างไร?
    สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 103
 





































































   101   102   103   104   105