Page 114 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 114
A4-202
19th HA National Forum
กนกรัตน์ แสงอาไพ
การนา มาตรฐานฉบบั ใหมไ่ ปประยกุ ตใ์ ช้ โดยเฉพาะในสว่ นทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั ระบบบรหิ ารความเสย่ี ง และการจดั ทา ทะเบยี นจดั การความเสยี่ ง (risk register) ซึ่งเป็นส่วนที่เพิ่มเติมเข้ามาเพ่ือเป็นเคร่ืองมือในการบริหารความเสี่ยงทุกขั้นตอนประเด็นสาคัญในการเรียนรู้ประกอบด้วย
1. ปัญหาหรือข้อกังวลเกี่ยวกับระบบบริหารความเสี่ยง
2. โครงสร้างของมาตรฐานฉบับใหม่เก่ียวกับระบบบริหารความเสี่ยง
3. หลักการบริหารความเสี่ยง (risk management principle)
4. ภาคปฏิบัติของกระบวนการบริหารความเสี่ยงด้วยทะเบียนจัดการความเส่ียง (risk register) 5. การใช้ RCA มาสนับสนุนการติดตามและทบทวนความเส่ียง (risk monitor & review)
จากการเข้าเย่ียมโรงพยาบาลมักพบปัญหาและข้อคาถามท่ีสะท้อนให้เห็นถึงความกังวล สับสนในการบริหารความเส่ียง ประการแรก คือ 1. ความเหมือนหรือต่างกันระหว่างความเสี่ยงกับอุบัติการณ์
2. การประเมินผลสาเร็จของระบบบริหาร ความเสี่ยง พบว่า ส่วนใหญ่มักจะใช้วิธีติดตามปริมาณการรายงานอุบัติการณ์ ซึ่งไม่
เพยี งพอสา หรบั การบรหิ ารความเสย่ี งอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ดงั นนั้ จงึ ควรนา รายงานอบุ ตั กิ ารณเ์ หลา่ นนั้ มาทบทวน เรยี นรรู้ ว่ มกนั สกู่ ารปรบั ปรงุ พฒั นา ระบบงานบริการ เพื่อป้องกันการเกิดอุบัติการณ์ซ้า ปัญหาสาคัญ
3.การทา RCA ไม่ได้สาเหตุรากเหง้าที่แท้จริง แต่ละหน่วยงานต่างแก้ปัญหาของตนเอง ขาดการมองภาพรวมขององค์กร ปัญหาเหล่าน้ีจะลดลงได้เม่ือเข้าใจหลักการนามาตรฐานใหม่มาประยุกต์ใช้ และมีการจัดทาทะเบียนจัดการความเสี่ยง (risk register) จะทาให้สามารถมองเห็นภาพรวมขององค์กรชัดเจนข้ึน เกิดการประสานความร่วมมือช่วยกันแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ และมีการติดตามประเมิน
ประสิทธิภาพของระบบเพ่ือการพัฒนาอย่างต่อเน่ือง
นพ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
ความหมายของความเส่ียง คือ โอกาสท่ีจะเกิดอุบัติการณ์ สาหรับอุบัติการณ์ คือ การเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ ข้ึนแล้ว ซ่ึงสามารถ เกิดข้ึนได้อีกในอนาคตถ้าไม่มีการปรับปรุง ป้องกัน ความสับสนท่ีเกิดขึ้นระหว่างความเสี่ยงกับอุบัติการณ์ น่าจะเกิดจากการใช้คาว่า “รายงาน ความเสย่ี ง” ซง่ึ ในความเปน็ จรงิ เวลารายงานสว่ นใหญเ่ ปน็ การ “รายงานอบุ ตั กิ ารณ”์ ทเี่ กดิ ขน้ึ แลว้ ดงั นน้ั เพอ่ื ปอ้ งกนั ความสบั สน ตอ่ ไปจงึ ควรยกเลกิ คาว่า “รายงานความเส่ียง” เพราะคาว่า “การรายงาน” ควรใช้กับเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึน มีความชัดเจน ส่วน “ความเส่ียง” ควรใช้กับโอกาสที่จะเกิด อุบัติการณ์ ซ่ึงอาจจะเคยเกิดขึ้นหรือยังไม่เกิดข้ึน นอกจากน้ีในการระบุความเส่ียง (risk identification) พบว่าส่วนใหญ่มักระบุเฉพาะอุบัติการณ์ ที่เกิดข้ึนแล้ว แต่การวิเคราะห์โอกาสของการเกิดอุบัติการณ์ท่ียังไม่เกิดเคยเพื่อหามาตรการป้องกันก่อนเกิดอุบัติการณ์ยังพบไม่มากเท่าท่ีควร
114 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)