Page 116 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 116

A4-202
19th HA National Forum
  จากการนาข้อกาหนดของมาตรฐาน ISQua และ ISO 31000 มาผสมผสานเข้าด้วยกัน ทาให้โครงสร้างของมาตรฐานฉบับใหม่ (ฉบบั ที่ 4) มกี ารเปลยี่ นแปลง โดยเฉพาะในสว่ นทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั ระบบบรหิ ารความเสยี่ งซง่ึ ไดร้ บั การปรบั ปรงุ ใหเ้ กดิ ความชดั เจน ทนั สมยั และเปน็ สากล (international) จนสามารถนาไปเทียบเคียงกับต่างประเทศได้ โดยประเด็นที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ในส่วนของข้อกาหนดทั่วไป คือ ข้อที่ 1 กรอบของการบริหารความเสี่ยงในประเด็นโครงสร้าง การจัดการภายในองค์กร การระบุความเส่ียงที่สาคัญ การพัฒนาระบบโดยใช้ PDSA (Plan-D0-Study-Act) เพ่ือพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารความเสี่ยงอย่างต่อเน่ือง และข้อที่ 2 การสนับสนุนระบบบริหารความเสี่ยง ประกอบด้วย นโยบายการบริหารความเส่ียง แผนจัดการความเส่ียง ซึ่งให้ความสาคัญกับเคร่ืองมือใหม่ คือ การทาทะเบียนจัดการความเส่ียง (risk register) ท่ีสามารถสะท้อนให้เห็นถึงประสิทธิภาพของการบริหารความเส่ียง
มาตรฐาน ISO 31000 ได้ให้ความหมายของการบริหารความเสี่ยง (risk management) คือชุดของกิจกรรม วิธีการที่ใช้ในการช้ีนา องค์กรและควบคุมความเส่ียงที่อาจมีผลต่อความสามารถในการบรรลุวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายขององค์กร ดังน้ัน โครงการ/แผนการทางานที่มี โอกาสจะไม่บรรลุวัตถุประสงค์ตามเป้าหมายก็ถือว่าเป็นความเส่ียงขององค์กร หรือในส่วนของการดูแลผู้ป่วยซึ่งมีเป้าหมายสาคัญคือความปลอดภัย การกระทาหรือส่ิงที่ทาให้ผู้ป่วยไม่ได้รับความปลอดภัยก็จะถือว่าเป็นความเส่ียงเช่นกัน
หวั ใจสา คญั สา หรบั การบรหิ ารจดั การความเสยี่ ง (Risk Management - RM) อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพทผ่ี เู้ กยี่ วขอ้ งตอ้ งทา ความเขา้ ใจ ประกอบดว้ ย 1) หลักการของการบริหารความเส่ียง 2) กรอบหรือองค์ประกอบสาคัญของการบริหารความเสี่ยง และ 3) กระบวนการบริหารความเส่ียง ดังต่อไปน้ี
1. หลักการของการบริหารความเส่ยี ง (Risk Management principles)
1) RM คอื การสรา้ งและปกปอ้ งคณุ คา่ (values) การปอ้ งกนั หรอื ลดโอกาสเกดิ อนั ตรายแกผ่ ปู้ ว่ ย คอื การสง่ มอบบรกิ ารทมี่ คี ณุ คา่ ใหแ้ กผ่ ปู้ ว่ ย
2) RM เป็นส่วนหน่ึงของทุกกระบวนการในองค์กร (all processes) เนื่องจากมีความเสี่ยงแฝงอยู่ การบริหารความเสี่ยงจึงควรครอบคลุม ทุกกระบวนการตั้งแต่ระดับกลยุทธ์ถึงระดับปฏิบัติการ โดยเฉพาะกระบวนการดูแลผู้ป่วยซ่ึงเป็นภารกิจหลักขององค์กร
3) RM เป็นส่วนหนึ่งของการตัดสินใจ (decision making) โดยต้องตัดสินใจว่าจะยอมรับความเส่ียงได้มากน้อยเพียงใด เช่น ถ้าจะเปิด ใหบ้ รกิ ารใหมท่ มี่ คี วามเสย่ี งแลว้ พบวา่ ไมส่ ามารถยอมรบั ความเสย่ี งทจี่ ะเกดิ ขนึ้ ได้ กต็ ดั สนิ ใจยกเลกิ การเปดิ บรกิ ารดงั กลา่ ว แตถ่ า้ ยอมรบั ความเสยี่ งได้ ก็จะต้องมองหาทางเลือกหรือวิธีที่จะรับมือกับความเส่ียงนั้น เพื่อป้องกันการเกิดอุบัติการณ์ และเมื่อเกิดความเสียหายขึ้น ต้องมีการเตรียมแนวทาง บรรเทาความเสียหาย พร้อมปฏิบัติได้ทันทีเม่ือเกิดเหตุการณ์ เป็นต้น
4) RM แสดงออกถึงความไม่แน่นอนให้ชัดเจน (uncertainty) ความเสี่ยงเป็นเรื่องของโอกาสเกิดอุบัติการณ์ ไม่สามารถบอกได้แน่นอน ในแต่ละรายว่าจะเกิดข้ึนหรือไม่ แต่สามารถคาดการณ์ให้ชัดเจนเป็นตัวเลขได้ว่ามีโอกาสเกิดข้ึนมากน้อยเพียงใด
5) RM เป็นเร่ืองของความเป็นระบบ (systematic) มีโครงสร้างชัดเจน ทันเวลา โดยมีทั้งระบบในการวิเคราะห์ข้อมูล และการวาง ระบบเพื่อป้องกันตามลาดับความสาคัญของความเสี่ยง มีการมอบหมายผู้รับผิดชอบ และกาหนดหน้าท่ีอย่างชัดเจน ทันเวลาในการรับรู้ความเสี่ยง และอุบัติการณ์ที่สาคัญนาไปสู่การปรับเปล่ียนมาตรการป้องกันการเกิดอุบัติการณ์
116 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)
 






















































































   114   115   116   117   118