Page 117 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 117

A4-202
19th HA National Forum
 6) RM อยู่บนพื้นฐานของสารสนเทศที่ดีท่ีสุด (best information) ตามบริบทขององค์กร โดยใช้ข้อมูลที่ดีที่สุดในการวิเคราะห์ความเส่ียง จากระบบบรกิ าร เพอ่ื เตรยี มพรอ้ มรบั มอื ระหวา่ งการทา งาน หนงึ่ ในขอ้ กา หนดของวฒั นธรรมความปลอดภยั ในองคก์ ร คอื ควรมี informed culture ซึ่งหมายถึง วัฒนธรรมที่คนทางานรับรู้ข้อมูลความปลอดภัยและความเสี่ยงในองค์กร มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้อมูลร่วมกัน พร้อมท้ังนาองค์ความรู้ ท่ีเก่ียวข้องมาประยุกต์ใช้วางมาตรการเพื่อป้องกันการเกิดอุบัติการณ์
6) RM ปรับให้สอดคล้องกับบริบท (context) และ risk profile โดยพิจารณาบริบทองค์กรว่าอาจทาให้เกิดความเสี่ยงอะไรบ้าง แต่ละความเสี่ยงมีโอกาสเกิดอุบัติการณ์และความรุนแรงมากน้อยเพียงใด
7) RM นาปัจจัยด้านมนุษย์และวัฒนธรรมมาพิจารณา ควรพิจารณาปัจจัยมนุษย์ (human factor) ทั้งส่วนที่เป็นข้อด้อยและข้อดี เพ่ือใช้ ประโยชนจ์ ากขอ้ ดี ลดการพงึ่ พงิ ขอ้ ดอ้ ยของมนษุ ย์ เชน่ มนษุ ยม์ คี วามสามารถในการประมวลผลไดโ้ ดยอาศยั ปจั จยั ดา้ นสงิ่ แวดลอ้ มทเี่ ออื้ ตอ่ การทา งาน แต่มีข้อจากัดด้านความจา ดังนั้นการออกแบบระบบต้องลดการพ่ึงพิงความจาของมนุษย์ และหาตัวช่วยในการประมวลผล เช่น กราฟแต่ละประเภท ล้วนเป็นตัวช่วยในการประมวลผลทาให้การตัดสินใจรวดเร็วข้ึน สาหรับปัจจัยวัฒนธรรม (cultural factor) เป็นส่วนสาคัญในการสร้างวัฒนธรรม ความปลอดภัย (safety culture) ในองค์กร ซ่ึงต้องมีการผสมผสานระหว่างการมีระบบที่ดีร่วมกับการมีสติ (mindfulness) ความคิด (mindset) ของคนทางาน จะทาให้เป็นองค์กรที่น่าเชื่อถือและไว้วางใจ (high organization reliability)
8) RM มีความโปร่งใสและไม่กีดกัน (transparent & inclusive) หมายถึงมีความโปร่งใสในการเปิดเผยข้อมูลเมื่อเกิดเหตุการณ์เพ่ือนามา เรียนรู้โดยไม่กีดกัน ทุกคนสามารถเข้ามาสู่กระบวนการเรียนรู้ มีส่วนร่วมในการระบุความเส่ียงและแนวทางป้องกันการเกิดอุบัติการณ์
9) RM มีความเป็นพลวัต (dynamic) หมุนซ้า และตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง มีการปรับปรุง (update) บัญชีรายการความเสี่ยง เม่ือจาเป็น ในส่วนของทะเบียนจัดการความเสี่ยง (risk register) ต้องกาหนดให้มีวงรอบของการทบทวนที่ชัดเจน
10) RM ช่วยให้มีการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องในองค์กร (improvement) การเรียนรู้จากอุบัติการณ์ นามาสู่การปรับปรุงเพ่ือป้องกัน แม้ไม่เกิดอุบัติการณ์ ก็ยังคิดถึงแผนการพัฒนามาตรการป้องกัน
2.กรอบหรือองค์ประกอบสาคัญของการบริหารความเส่ียง (risk management framework)
1) หนา้ ทแี่ ละความมงุ่ มนั่ ของผบู้ รหิ าร ในการกา หนดนโยบายบรหิ ารความเสยี่ ง (risk management policy) ซงึ่ เปน็ ขอ้ ความทร่ี ะบทุ ศิ ทาง การบริหารความเสี่ยงขององค์กร แผนการบริหารความเส่ียง (risk management plan) ครอบคลุมวัตถุประสงค์ แนวทาง การจัดสรรทรัพยากร ระเบียบปฏิบัติ และการมอบหมายหน้าที่รับผิดชอบ กิจกรรม (รวมทั้งลาดับขั้นตอนและเวลา) พร้อมมีการกาหนดตัวชี้วัดสาคัญสาหรับการบริหาร ความเสี่ยง ร่วมกับการสื่อสารประโยชน์ของการบริหารความเสี่ยง และการสนับสนุนองค์ประกอบสาคัญในการจัดการความเส่ียงขององค์กร
2) การออกแบบระบบบรหิ ารความเสย่ี ง พรอ้ มนา ระบบไปสกู่ ารปฏบิ ตั จิ รงิ การตดิ ตามเละทบทวน เพอ่ื ปรบั ปรงุ พฒั นาระบบบรหิ ารความเสยี่ ง อย่างต่อเนื่อง ซึ่งหมายถึงผู้นาต้องมีการทา PDCA ของระบบบริหารความเส่ียงอย่างต่อเนื่อง
3. กระบวนการบริหารความเส่ียง (risk management processes)
ซึ่งเป็นภาคปฏิบัติของการบริหารความเสี่ยงโดยใช้ทะเบียนจัดการความเสี่ยง (risk register) เป็นเคร่ืองมือใหม่ในการเรียนรู้ ติดตาม การเปล่ียนแปลงเป็น dynamic อย่างต่อเน่ือง
นพ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
อ.กนกรัตน์ แสงอาไพ
น.อ.หญิงปณิชา สิริกรรณะ
รว่ มกนั บรรยายและสรา้ งการเรยี นรเู้ กยี่ วกบั การทา ทะเบยี นจดั การความเสย่ี ง (risk register) ซงึ่ เปน็ เครอื่ งมอื ทช่ี ว่ ยใหก้ ารบรหิ ารความเสยี่ ง เป็นพลวัต (dynamic) ขั้นตอนที่สมบูรณ์เร่ิมจากการวิเคราะห์บริบทองค์กร มีการส่ือสารและปรึกษาผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ซึ่งสะท้อนให้เห็นภาพของ การบรหิ ารความเสยี่ งทงั้ ในระดบั องคก์ รและระดบั ปฏบิ ตั กิ าร มกี ารระบคุ วามเสยี่ ง (risk identification) ประเมนิ ความเปน็ ไปไดใ้ นการเกดิ อบุ ตั กิ ารณ์ พร้อมวิเคราะห์ผลกระทบเม่ือเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ (risk analysis) เพื่อมองหาทางเลือกและวิธีการป้องกัน สาหรับการตัดสินใจจัดทา แผนบรหิ ารจดั การความเสย่ี ง โดยเลอื กวธิ ปี ฏบิ ตั ทิ ด่ี ที สี่ ดุ สา หรบั การรบั มอื กบั ความเสย่ี ง (risk treatment) ตามบรบิ ทขององคก์ ร รวมทงั้ มกี ารตดิ ตาม และทบทวนความเสี่ยง (risk monitor & review) ทาให้มีการปรับปรุงพัฒนากระบวนการทางานอย่างต่อเน่ือง (ตามแนวคิด PDCA)
 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 117
 
















































































   115   116   117   118   119