Page 119 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 119
A4-202
19th HA National Forum
ความเส่ียงแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
1) ความเสี่ยงในระดับองค์กร (Corporate Risk) ประกอบด้วย ความเส่ียงด้านกลยุทธ์ ด้านกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ ด้านทรัพยากร บุคคล ด้านการเงิน ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านสารสนเทศ ซ่ึงเป็นหน้าที่ของผู้บริหารต้องชี้นาให้ระบุและจัดการกับความเสี่ยงดังกล่าว ต้องกาหนด ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบอย่างชัดเจน
2) ความเสี่ยงในระดับปฏิบัติการ (Operational Risk) แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ Clinical risk และNon-clinical risk สามารถค้นหาและระบุ ความเส่ียงทางคลินิก โดยใช้ข้อมูลในอดีต (รายงานอุบัติการณ์ที่เคยเกิดข้ึน) การทบทวนคุณภาพ และการทบทวนเวชระเบียนด้วย trigger tool สาหรับการระบุความเสี่ยงแบบมองไปข้างหน้าสามารถใช้การวิเคราะห์กระบวนการดูแลผู้ป่วย เช่น การดูแลผู้ป่วยปลูกถ่ายอวัยวะ มักพบปัญหา ในขน้ั ตอนการจา หนา่ ยผปู้ ว่ ย มคี วามเสยี่ ง คอื เมอื่ ผปู้ ว่ ยกลบั บา้ นอาจดแู ลตนเองไมถ่ กู ตอ้ ง รบั ประทานยาผดิ ไมต่ รงเวลา ซง่ึ ไมเ่ ปน็ ไปตามขอ้ กา หนด /ความต้องการ (requirement) การวิเคราะห์โอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนในแต่ละโรคซึ่งมีความยุ่งยากซับซ้อนต่างกัน ต้องอาศัยความเชี่ยวชาญ การตามรอยการดูแลผู้ป่วย เพื่อค้นหาความเสี่ยงสู่การวางแผนป้องกันก่อนเกิดอุบัติการณ์ เป็นต้น นอกจากนี้ยังต้องมีการศึกษาบทเรียนความ เสี่ยงจาก รพ.อื่น และประยุกต์ใช้ Patient Safety Goals (SIMPLE) ซ่ึงมีข้อแนะนาสาหรับการปฏิบัติเพื่อความปลอดภัย ร่วมกันทบทวนวิเคราะห์ หาส่วนขาด (gap analysis) จากข้อเสนอแนะดังกล่าว เพื่อประเมินความเสี่ยงตามบริบทของโรงพยาบาล
2. การวิเคราะห์ความเสี่ยง
(risk analysis)
เพ่ือจัดลาดับความสาคัญของความเสี่ยง (risk level) โดยพิจารณาจากผลรวมระหว่างผลกระทบ (consequences) ที่ได้รับ หรือความรุนแรง กับ ความเป็นไปได้ (likelihood) หรือโอกาสท่ีความเสี่ยงจะเกิดเป็นอุบัติการณ์ การพิจารณาผลรวมนี้จะใช้การนาเอาค่าระดับ ทั้งสองมาคูณกันหรือบวกกันก็ได้
การพิจารณาความเป็นไปได้ (likelihood) ของการเกิดอุบัติการณ์ อาจดูจากความถี่ที่เคยเกิดขึ้นหรือความน่าจะเป็น โดยแบ่งเป็น ระดับ 5 ระดับ คือ1) rare (ไม่เช่ือว่าจะเกิดได้) 2) unlikely (ไม่คาดว่าจะเกิด) 3) possible (เป็นคร้ังคราว) 4) likely (บ่อย) และ 5) frequent (บ่อยมาก) เกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่งระดับอาจกาหนดเป็นร้อยละหรือจานวนครั้งของการเกิดอุบัติการณ์ (ต่อวัน สัปดาห์ เดือน หรือปี)
สาหรับผลที่ตามมา (consequence) หรือความรุนแรง (severity) แบ่งเป็น 5 ระดับเช่นกัน โดยพิจารณาตามแนวทางต่อไปน้ี
ประสบการณ์ผู้ป่วย :
1 ) N e g l i g i b l e ค ณุ ภ า พ ข อ ง ป ร ะ ส บ ก า ร ณ ผ์ ป้ ู ว่ ย ห ร อื ผ ล ล พั ธ ท์ า ง ค ล นิ กิ ท ลี ่ ด ล ง ไ ม เ่ ก ยี ่ ว ข อ้ ง โ ด ย ต ร ง ก บั ก า ร ใ ห บ้ ร กิ า ร 2 ) M i n o r ม ปี ร ะ ส บ ก า ร ณ ์ ผปู้ ว่ ยหรอื ผลลพั ธท์ างคลนิ กิ ทไ่ี มน่ า่ พงึ พอใจเลก็ นอ้ ย สามารถคลคี่ ลายไดเ้ อง (readily resolvable) 3) Moderate มปี ระสบการณผ์ ปู้ ว่ ยหรอื ผลลพั ธ์ ทางคลนิ กิ ทไี่ มน่ า่ พงึ พอใจซง่ึ มผี ลระยะสนั้ คลค่ี ลายไดภ้ ายใน 1 สปั ดาห์ 4) Major มปี ระสบการณผ์ ปู้ ว่ ยหรอื ผลลพั ธท์ างคลนิ กิ ทไี่ มน่ า่ พงึ พอใจซง่ึ มผี ล ระยะยาว ใช้เวลามากกว่า 1 สัปดาห์จึงจะคล่ีคลาย 5) Extreme มีประสบการณ์ผู้ป่วยหรือผลลัพธ์ทางคลินิกที่ไม่น่าพึงพอใจ มีผลต่อเนื่องระยะยาว
วัตถุประสงค์/โครงการ :
1) Negligible แทบสังเกตไม่เห็นการลดลงของขอบเขต คุณภาพ หรือกาหนดการ 2) Minor มีการลดลงของขอบเขต คุณภาพ หรือกาหนดการ เล็กน้อย 3) Moderate มีการลดลงของขอบเขตหรือคุณภาพของโครงการ วัตถุประสงค์ หรือกาหนดการ ชัดเจน 4) Major มีการทางานของโครงการล่าช้าอย่างมีนัยยะสาคัญ 5) Extreme ไม่สามารถบรรลุวัตถุประสงค์โครงการ องค์กรเสียช่ือเสียงอย่างมาก
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 119