Page 121 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 121
A4-202
19th HA National Forum
ข้อสังเกต :
ISO 31000 รวมขั้นตอนการระบุความเส่ียงไว้เป็นขั้นตอนย่อย ข้ันแรกของ risk assessment ประกอบด้วย 2 ขั้นตอนย่อย คือ risk analysis ได้แก่การทาความเข้าใจธรรมชาติ แหล่งที่มา และสาเหตุของความเส่ียง รวมท้ังความเป็นไปได้ และผลกระทบที่อาจเกิดตามมา และriskevaluationพิจารณาระดบัความรนุแรงพร้อมประเมินเปรียบเทียบผลการวเิคราะห์กับเกณฑ์ความเสี่ยง(riskcriteria)ซงึ่เป็นขอ้กาหนด/ เง่ือนไข มีขอบเขตตามภารกิจ และเป้าหมายความสาเร็จอย่างชัดเจน (Terms of Reference : TOR) เพื่อตัดสินใจพิจารณาว่าจะยอมรับความเส่ียง ได้หรือไม่
Workshops :
มีใบงาน 3 ใบ คือ (1) การระบุและประเมินความเส่ียงจาก PSG: SIMPLE (2) การระบุและประเมินความเสี่ยงจาก RCA ของ รพ. และ (3) การระบุและประเมินความเส่ียงจากการทบทวนเวชระเบียน เพื่อเรียนรู้การระบุความเส่ียงโดยใช้ข้อมูลจากหลายแหล่ง ระดับความรุนแรง ของความเสี่ยงทางคลินิกที่แบ่งเป็น A-I อาจต้องปรับให้มาเป็น 5 ระดับ
เมื่อจัดระดับความเสี่ยงได้แล้ว จะทาให้สามารถแบ่งเป็นกลุ่มเพื่อวางแนวทางจัดการได้ดังนี้ (1) extreme risk (พ้ืนที่สีแดง) ผู้บริหาร ระดับสูงต้องมีความตระหนักและดาเนินการอย่างเร่งด่วน ควรมี risk owner เป็นรายบุคคลทาหน้าที่ติดตามทบทวน (2) high risk (พื้นที่สีส้ม) ควรดาเนินการอย่างช้าภายในไม่เกิน 6 เดือน ในทางคลินิกน่าจะไม่ควรเกิน 1 เดือน ควรมี risk owner เป็นรายบุคคลเพื่อติดตามทบทวน (3) moderate risk (พื้นท่ีสีเหลือง) อาจให้คณะกรรมการที่เกี่ยวข้องทาหน้าท่ีเป็น risk owner ทบทวนตามความเหมาะสม (4) low risk (พื้นที่สีเขียว) ให้ผู้เก่ียวข้องร่วมกันทบทวนแนวทางป้องกันปีละ 1 คร้ัง
จะเห็นได้ว่าเพียงแค่ใช้เวลาสั้นๆ ยังสามารถระบุความเส่ียงได้จานวนมาก ดังน้ันการทา risk register “ต้องไม่กลัวความเยอะ” ถา้ จะบรหิ ารความเสยี่ งภาพรวมขององคก์ รตอ้ งเอา risk ทงั้ หมดมาวเิ คราะห์ จา แนกตาม risk level จดั การกบั risk ทกุ ตวั ทรี่ ะบใุ นเวลาทรี่ วดเรว็ ทสี่ ดุ
3. การวางแผนรับมือความเส่ียง
(risk treatment plan)
โดยพิจารณาตามบริบทองค์กร ถ้ายอมรับความเสี่ยงไม่ได้จะมีการถ่ายโอน (transfer) ความเส่ียงอย่างเหมาสม แต่ถ้าสามารถรับมือได้ จะร่วมกันมองหาทางเลือกและวิธีปฏิบัติท่ีดีที่สุดมากาหนดมาตรการป้องกันความเสี่ยงอย่างรัดกุม (risk prevention) และเม่ือนามาตรการป้องกัน ไปปฏิบัติต้องมีการติดตามตัวชี้วัดการเกิดอุบัติการณ์ความเสี่ยง (risk monitoring) ถ้าเกิดอุบัติการณ์ขึ้นจะมีมาตรการเพื่อบรรเทาความเสียหาย หรือลดผลกระทบ (risk mitigation) ท่ีสามารถนามาปฏิบัติได้ในเวลาที่รวดเร็ว เหมาะสม ถ้ายังไม่มีคาตอบที่ชัดเจนว่ามาตรการป้องกันที่เหมาะสม คืออะไร ก็ควรวางแผนพัฒนามาตรการป้องกันอุบัติการณ์ (quality improvement plan) ต่อไป
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 121