Page 122 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 122
A4-202
19th HA National Forum
4.การติดตามและทบทวนความส่ียง
(risk monitoring & review)
การติดตามความเสี่ยง (risk monitoring) คือการกากับดูแล ตรวจสอบ และสังเกตอย่างต่อเน่ืองในส่ิงที่กาลังเกิดข้ึน เพ่ือประเมิน ว่าจะบรรลุสิ่งที่คาดหวังไว้หรือไม่ ส่วนการทบทวนความเสี่ยง (risk review) คือการพิจารณาว่าสิ่งที่เกิดขึ้นนั้นเหมาะสม เพียงพอ และได้ผล ในการบรรลุวัตถุประสงค์ที่กาหนดหรือไม่ ซ่ึงต้องมี risk owner คือ บุคคลหรือคณะบุคคลที่ได้รับ authority เพื่อจัดการกับความเสี่ยง และออกหน้ารับผิดชอบ (accountable) กากับตรวจสอบและทบทวนการเกิดอุบัติการณ์อย่างต่อเนื่องตามรอบเวลาที่กาหนด ให้ครอบคลุม ความเสี่ยงทุกรายการที่ระบุไว้
สิ่งสาคัญคือเมื่อครบวงรอบเวลาการทบทวนต้องตอบได้ว่ามาตรการท่ีกาหนดเพียงพอสาหรับการป้องกันการเกิดอุบัติการณ์หรือไม่ ซ่ึงรับรู้ได้จากการติดตามแนวโน้มของการเกิดอุบติการณ์ และจากการทา RCA อย่างมี passion จนเห็น root cause หรือช่องโหว่ของระบบ ที่ได้จากความพยายามเช่ือมโยงจาก local workplace factors ไปสู่ organizational Factors แล้วนามาปรับปรุงมาตรการป้องกันให้รัดกุมย่ิงขึ้น พร้อมท้ังสื่อสารสู่การปฏิบัติ สิ่งเหล่าน้ีทาให้กระบวนการบริหารความเสี่ยง เป็นกระบวนการท่ีมีชีวิตและเป็นพลวัตอย่างต่อเนื่อง
ตัวอย่างการทําา risk register : ตารางแบบฟอร์มที่กาหนดตามกระบวนการบริหารความเสี่ยง เริ่มจาก
ข้อมูลกลุ่มท่ี 1 คือ การระบุความเสี่ยง (risk identification) ประกอบด้วยชื่อความเส่ียง (risk title) คือ prosthetic hip dislocation และคาอธิบายความเสี่ยง (risk description) ว่า prosthetic hip dislocation หมายถึง การเคลื่อนหลุดของข้อสะโพกเทียมท้ังภายในรพ. ขณะผู้ป่วยพักรักษาตัวอยู่และนอก รพ.ภายหลังจากการจาหน่าย
ข้อมูลกลุ่มที่ 2 เป็นการประเมินความเสี่ยง (risk analysis) ประกอบด้วยช่วงเวลา likelihood, consequence และ risk level ในตัวอย่างนี้เป็นการทางานเมื่อต้นไตรมาสท่ี 1 คะแนนของ likelihood เป็น 2 คะแนนของ consequence เป็น 3 รวมคะแนนเข้าด้วยกันเป็น risk level ด้วยวิธีการบวก จึงได้เป็น risk level score = 5
ข้อมูลกลุ่มท่ี 3 การจัดทาแผนการรับมือกับความเส่ียง (risk treatment plan) ประกอบด้วย
มาตรการป้องกันและถ่ายโอนความเสี่ยง (risk transfer & prevention) มาตรการป้องกันการเคลื่อนหลุดของข้อตะโพกเทียม ได้แก่ ใชเ้ ทคนคิ การผา่ ตดั ทเี่ หมาะสม ปฏบิ ตั ติ ามแนวทางการเคลอื่ นยา้ ยผปู้ ว่ ย ใชห้ มอนสามเหลยี่ ม สอนผปู้ ว่ ยบรหิ ารกลา้ มเนอื้ ทา่ ตอ้ งหา้ ม วธิ กี ารเปลยี่ น อิริยาบถ ส่วนนี้ควรใช้ evidence based ให้มาก การเขียน prevention ควรใช้ข้อความท่ีกระชับ เน้นการปฏิบัติ
การติดตามควบคุม (risk monitoring & control) ข้อมูลท่ีจะใช้ติดตาม คือ จานวนครั้งของการเกิดข้อสะโพกเคล่ือนหลุด
การบรรเทาความเสียหาย (risk mitigation) หากข้อตะโพกเคลื่อนหลุด ส่ิงท่ีต้องทาเพื่อทุเลาหรือป้องกันความเสียหายรุนแรง คือ การทา closed reduction โดยเร็วที่สุด และทา open reduction ทันทีถ้า closed reduction ไม่ประสบความสาเร็จ
การวางแผนปรบั ปรงุ คณุ ภาพ (QI Plan) เพอื่ หาคา ตอบใหมๆ่ หรอื ทา ใหด้ ขี นึ้ คอื การพฒั นาสอ่ื วดิ โิ อแนะนา รปู แบบการปฏบิ ตั ติ วั สา หรบั ผปู้ ว่ ย
ความแตกต่างของแผนพัฒนาคุณภาพกับมาตรการป้องกันความเส่ียงคือ มาตรการป้องกันความเส่ียงสามารถนาไปปฏิบัติได้ในทันที แตส่ ง่ิ ทคี่ ดิ ในแผนพฒั นาคณุ ภาพยงั ไมม่ คี วามชดั เจนจงึ ไมส่ ามารถนา ไปปฏบิ ตั ไิ ด้ เมอื่ พฒั นาไดค้ า ตอบชดั เจนแลว้ จงึ ยา้ ยบทสรปุ ของการพฒั นาคณุ ภาพ ไปอยู่ในช่องมาตรการป้องกันความเสี่ยง
ข้อมูลกลุ่มที่ 4 การติดตามและทบทวนความเสี่ยง (risk monitoring & review) ประกอบด้วย ผู้รับผิดชอบ (risk owner) คือ คุณใจดี มีการกาหนดความถ่ีในการทบทวน (review frequency) ทุก 3 เดือน การทบทวนในรอบล่าสุด (date last review) เป็นการทบทวนเม่ือสิ้น ไตรมาสแรก คือวันท่ี 30/12/60 ผลการทบทวน (result of review) พบว่ามีอุบัติการณ์ผู้ป่วยไปน่ังม้าน่ังทาสวนแล้วเอื้อมมือไปถอนหญ้า ในด้านตรงข้ามกับที่ผ่าตัดทาให้ข้อตะโพกเทียมเคลื่อนหลุด นามาสู่ข้อเสนอว่าสมควรเพิ่มเติมการชักประวัติเก่ียวกับวิถีชีวิต เพ่ือคาดการณ์อิริยาบถ ท่ีต้องระวังด้วย ระดับความเสี่ยงท่ีเหลืออยู่ (residual risk Level) เท่าเดิมคือ 5 และสถานะความเสี่ยง (risk status) active ยังต้องใช้มาตรการ ป้องกันที่กาหนดไว้และเฝ้าระวังตามกาหนดต่อไป
มาตรการป้องกันท่ีเพ่ิมเติม และระดับความเสี่ยงท่ีเหลืออยู่ จะถูกนาไป update เป็นข้อมูลของช่วงเวลาต่อไป คือไตรมาสที่ 2 ซึ่งควรสรุป ให้เสร็จสิ้นแต่เนิ่นๆ และสื่อสารให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ
จากตัวอย่างการทาทะเบียนจัดการความเสี่ยง (risk register) เร่ือง prosthetic hip dislocation ดังรายละเอียดข้างต้น สามารถ สะท้อนภาพกระบวนการบริหารความเส่ียง (risk management process) และการปรับปรุงพัฒนามาตรการป้องกันให้รัดกุมเพ่ิมขึ้นตามแนวคิด DALI โดย Design คือการออกแบบกระบวนการทางานท่ีมีมาตรการป้องกันต่างๆ Action เป็นการปฏิบัติตามมาตรการที่กาหนดไว้อย่างมีสติ (mindfulness) Learning เปน็ การตดิ ตาม (monitor) ตามรอย (trace) การปฏบิ ตั ิ ทบทวนเหตกุ ารณไ์ มพ่ งึ ประสงคจ์ ากการรายงาน ใช้ trigger tool เรียนรู้ค้นหา AE สาหรับ Improve เป็นการนาผลจากการ Learning มาปรับปรุงพัฒนา Design ระบบงานโดยใช้หลักฐานทางวิชาการ
122 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)