Page 123 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 123

A4-202
19th HA National Forum
 ทะเบียนจัดการความเสี่ยงเป็นเคร่ืองมือสาหรับบริหารความเสี่ยงเชิงรุกอย่างเป็นระบบ และสามารถใช้ร่วมกับเครื่องมือคุณภาพอื่นๆ เช่น (1) ในขน้ั ตอนการระบคุ วามเสยี่ ง อาจใชร้ ว่ มกบั PSG รายงานอบุ ตั กิ ารณ์ การทบทวนเวชระเบยี น การวเิ คราะหก์ ระบวนการ การวเิ คราะหค์ วามเสยี่ ง ทางคลินิก FMEA (2) ในขั้นตอนการวิเคราะห์ความเส่ียง คือการวิเคราะห์เช่นเดียวกับการทา risk profile (3) ในขั้นตอนการวางแผนรับมือ ความเสี่ยง ใช้ gap analysis, human factor engineering, human-centered design, patient/customer experience (4) ในข้ันตอนติดตาม และทบทวน ใช้สถิติอุบัติการณ์ ผลการวิเคราะห์สาเหตุราก การตามรอย การติดตามตัวช้ีวัด
การมองภาพเชื่อมโยงเหล่านี้ให้ออก จะทาให้เราเลือกใช้เครื่องมือต่างๆ ได้เหมาะสมกับสถานการณ์และมีประสิทธิภาพดีข้ึน
การทาทะเบียนจัดการความเสี่ยง (risk register) ในโรงพยาบาลควรเร่ิมต้นท่ีการมองภาพรวมของโรงพยาบาล ร่วมกันค้นหาและรวบรวม รายการความเสี่ยงจากทุกแหล่งที่มี เช่น risk profile, PSG: SIMPLE, รายงานอุบัติการณ์, การทบทวนเวชระเบียน, MM conference, ฯลฯ นามาวิเคราะห์ระดับโอกาสเกิดและผลท่ีจะตามมาของทุกความเสี่ยงเหมือนกับการทา risk profile คานวณ
บทส่งท้าย
ระดบั ความเสยี่ งด้วยการนาโอกาสเกิดกบั ผลทจี่ ะตามมาบวกหรือคูณกัน แบ่งรายการความเส่ียงจานวนมากเปน็ กลุ่มตามระดับความเส่ียง เพื่อวางแผนจัดการตามระดับความเสี่ยง โดย
• กลุ่มที่สาคัญสูง ขอให้ร่วมกันกาหนด/ทบทวนแนวทางป้องกัน และการเตรียมพร้อมตอบสนองเมื่อเกิดเหตุ มอบหมายผู้ทาหน้าท่ี risk owner มีหน้าที่ทบทวนการปฏิบัติตามมาตรการป้องกัน ระดับอุบัติการณ์ท่ีเกิดขึ้น และพิจารณาว่าควรเพิ่มมาตรการป้องกันอย่างไร ทบทวน อย่างน้อยทุก 3 เดือน จานวนความเสี่ยงในรายการนี้ พิจารณาจากจานวนความเสี่ยงที่สาคัญสูง ร่วมกับจานวนคนที่จะมาทาหน้าที่ risk owner
• กลมุ่ ทสี่ า คญั ปานกลาง มอบใหค้ ณะกรรมการทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ความเสยี่ งนนั้ ๆ ทบทวนมาตรการปอ้ งกนั และทา หนา้ ที่ risk owner ทบทวน เหมือนกลุ่มที่สาคัญสูง แต่ความถ่ีของการทบทวนอาจจะห่างกว่าความเสี่ยงที่สาคัญสูง
• กลุ่มความเสี่ยงที่สาคัญน้อย อาจจะมีโอกาสพบน้อย ความรุนแรงน้อย ตรวจสอบว่ามีมาตรการป้องกันอยู่ในคู่มือแล้วหรือไม่ ถ้ามีก็หาวิธี การสื่อสารและทาให้มั่นใจว่ามีการรับรู้และปฏิบัติ (ซ่ึงกลุ่มนี้คาดว่าจะมีจานวนมากที่สุด)
ดว้ ยการจดั การตามแนวทางเชน่ น้ี เชอื่ วา่ โรงพยาบาลจะสามารถรบั มอื กบั ความเสยี่ งไดท้ กุ รายการอยา่ งรดั กมุ เหมาะสม และมปี ระสทิ ธภิ าพ อย่างต่อเนื่อง จนเกิดเป็นวัฒนธรรมความปลอดภัยในองค์กรแบบยั่งยืน
ข้อค้นพบใหม่ทีไ่ด้จากเรือ่ง
ทะเบียนจัดการความเสี่ยง (risk register) เป็นการทางานต่อยอดจากการทาบัญชีความเสี่ยง (risk profile) ซึ่งทาให้สามารถมองเห็นภาพ รวมของกระบวนการจัดการความเส่ียงในแต่ละรายการ ตามช่วงเวลา มีผู้รับผิดชอบ (risk owner) เป็นรายบุคคล หรือเป็นคณะกรรมการ ตามระดับ ความสาคัญของความเส่ียง มีการกาหนดรอบเวลาของการติดตามประเมินผลและทบทวนการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันอย่างชัดเจน ทาให้เกิด การปรับปรุงพัฒนาระบบงานที่ตรงประเด็นอย่างต่อเนื่อง เป็นที่ยอมรับทั้งระดับบริหาร ระดับปฏิบัติการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เกิดการประสาน ความร่วมมือกันทางานแบบสหสาขาวิชาชีพอย่างเป็นรูปธรรม มีวัฒนธรรมความปลอดภัยในองค์กร ส่งผลให้โรงพยาบาลก้าวไปสู่การเป็นองค์กร ท่ีน่าเช่ือถือและไว้วางใจ (high organization reliability) ได้ในที่สุด
ปจัจัยแห่งความสาเร็จ
• นโยบายของผู้บริหารที่สนับสนุน ชี้นาให้ดาเนินการบริหารความเส่ียงตามโครงสร้างใหม่ (มาตรฐานฉบับ 4) พร้อมส่งเสริมให้มีการจัดทา risk register ของโรงพยาบาล มีการมอบหมายผู้รับผิดชอบติดตามผลการดาเนินงานและรายงานผลอย่างต่อเนื่อง
• ความรู้ความเข้าใจมาตรฐานฉบับใหม่ และประโยชน์ของการทาทะเบียนจัดการความเส่ียง (risk register) ของโรงพยาบาล
• การทางานเป็นทีมสอดประสานกันแบบสหสาขาวิชาชีพ การนาผลที่ได้จากการติดตามทบทวนการปฏิบัติตามมาตรการที่กาหนด มาเรียนรู้ร่วมกันในทีม เพื่อพัฒนาระบบงานที่เป็นจุดอ่อน
• ทัศนคติเชิงบวกของบุคลากรต่อการบริหารจัดการความเสี่ยง ทาให้เกิดการค้นหาและรายงานอุบัติการณ์ นามาจัดทา risk register ได้ครอบคลุมความเส่ียงของโรงพยาบาลเพ่ิมข้ึน
• ความสามารถในการทบทวน และทา RCA ที่ได้สาเหตุรากเหง้าอย่างแท้จริง และสามารถนาไปปรับปรุงมาตรการป้องกันได้อย่างรวดเร็ว
 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 123
 














































































   121   122   123   124   125