Page 125 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 125

B1-202
19th HA National Forum
  นพ.สมจิตต์ ช้เีจริญ
จากการปรับเปลี่ยนโครงสร้างมาตรฐาน HA เป็นมาตรฐานฉบับที่ 4 มีความเปลี่ยนแปลงสาระสาคัญหลายประเด็นโดยเฉพาะส่วนของทีม นาเกี่ยวกับ “การกากับดูแลทางคลินิก” (Clinical Governance) ซ่ึงมาตรฐานฉบับเดิม มีการกาหนดเร่ืองการกากับดูแลธรรมมาภิบาลขององค์กร (Corporate Governance) อยู่แล้วใน Part I-1.2 การกากับดูแลกิจการและความรับผิดชอบต่อสังคม (Governance and Social Responsibility) โดยเน้นการกากับดูแลกิจการให้มีคุณค่า คุณภาพ และคุณธรรม ซึ่งคุณธรรม (moral) หมายถึง ส่ิงท่ีกากับอยู่ในใจของแต่ละคน คุณภาพ (quality) หมายถึง การกระทาท่ีออกมาเป็นกระบวนการของท้ังองค์กรและรายบุคคล สาหรับคุณค่า (value) หมายถึง ส่ิงที่ผู้รับบริการรับรู้ และให้การยอมรับ (recognize) ซึ่งจะย้อนกลับ
มากระตุ้นพร้อมขับเคลื่อนในองค์กรให้ผลการดาเนินงานดีข้ึนในระยะยาว การขับเคลื่อนดังกล่าวจะใช้ Intangible assets โดยกาหนด เป็นกลยุทธ์ขององค์กร (strategy) มองผลลัพธ์ที่มีคุณค่าในระยะยาวมากกว่าระยะส้ัน เช่น องค์กรเพื่อการศึกษาอย่างโรงพยาบาลรามาธิบดี มองผลระยะยาว คือ การขับเคลื่อนสร้างบุคลากรทางการแพทย์ที่มีคุณค่าให้กับองค์กรบริการสุขภาพ โรงพยาบาลศิริราชหวังผลระยะยาว จะเป็นสถาบันปัญญาของแผ่นดินที่ได้รับความเคารพนับถือ สาหรับมาตรฐาน HA กาหนดให้องค์กรบริการด้านสุขภาพมีการบริหารความเส่ียง (Risk Management) เพอื่ หวงั ใหเ้ ปน็ องคก์ รทน่ี า่ เชอื่ ถอื และไวว้ างใจในระดบั สงู (high reliability organization) เปน็ องคก์ รทมี่ ชี อื่ เสยี ง (reputation) ในอนาคต นอกจากนี้ยังมี supply chain, human life (patient life), stakeholder relationship, quality และ governance organization สิ่งดังกล่าวเหล่านี้จัดเป็น Intangible assets ซึ่งองค์กรที่มีธรรมาภิบาลในการกากับกิจการที่ดีจะสามารถนาไปประยุกต์ใช้เพื่อสร้างความม่ันใจ ในงานบริการให้กับสังคม โดยเฉพาะการกากับดูแลทางคลินิก (Clinical Governance) ท่ีสะท้อนให้เห็นคุณค่าของงานบริการสุขภาพ ซึ่งมาตรฐาน ฉบับเก่ามีการกาหนดไว้ แต่กล่าวถึงน้อยและไม่ครอบคลุม
ปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงกระบวนทัศน์ (paradigm shift) ของการกากับองค์กรจากเดิมคานึงถึงเฉพาะบุคลากรในองค์กร เปลยี่ นมาคา นงึ ถงึ ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี (stakeholder) และการสรา้ งคณุ คา่ ขององคก์ รทยี่ ง่ั ยนื ในระยะยาว (long-term sustainable valuable creation) โดยมาตรฐานฉบับใหม่ กาหนดให้การกากับดูแลกิจการอยู่ใน Part I–1.2 การกากับดูแลกิจการและความรับผิดชอบต่อสังคม (Governance and Social Responsibility) ซึ่งต้องมีระบบกากับติดตามการบริหารของผู้นา แผนกลยุทธ์ การเงิน ความโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ สุดท้ายคือการ กา กบั ตดิ ตามผลประโยชนข์ องผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี โดยทกุ โรงพยาบาลหรอื ทกุ องคก์ รจะมหี นว่ ยงานทา หนา้ ทกี่ า กบั ดแู ลกจิ การ (Governance Body) เช่น องค์กรสาธารณสุขจะถูกกากับดูแลโดยสานักงานสาธารณสุขจังหวัด ผู้ตรวจราชการ หรือกระทรวงสาธารณสุข ส่วนโรงพยาบาลภูมิพล จะถูกกากับดูแลโดยกรมแพทย์ทหารอากาศ เป็นต้น เมื่อมีการเยี่ยมสารวจ ผู้เยี่ยม (Surveyor) มักสอบถามทีมนาถึงการใช้ประโยชน์จากข้อเสนอ แนะขององคก์ รกา กบั ในการปรบั ปรงุ กจิ การของโรงพยาบาล ทงั้ นเี้ พอื่ คน้ หาหลกั ฐานยนื ยนั วา่ โรงพยาบาลมกี ลยทุ ธ์ (strategy) ทมี่ องผลในระยะยาว คือ เป็นองค์กรท่ีมีช่ือเสียง (Reputation) ผ่านความน่าเชื่อถือของการบริหารจัดการ และมั่นใจได้ว่าเป็นองค์กรท่ีมี
 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 125
 



























































































   123   124   125   126   127