Page 126 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 126

B1-202
19th HA National Forum
 ระบบการจัดการเก่ียวกับความเป็นอยู่ของผู้ป่วย (patient life) และคนทางาน (human life) รวมท้ังมีระบบการจัดการในเรื่องผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียอย่างครอบคลุมทุกฝ่ายท้ังชุมชุน ผู้ป่วย ผู้รับบริการ และเครือข่ายสุขภาพ โดยเบ้ืองต้นองค์กรต้องกาหนดหลักเกณฑ์การบริหารกิจการ แบบธรรมาภิบาล (corporate governance code) มีคณะกรรมการคอยกากับดูแลระบบบริการ ศึกษาข้อมูลอย่างรอบด้าน พร้อมร่วมกันวางแผน พฒั นา และมกี ารตดิ ตามประเมนิ ผลเพอื่ ใหเ้ กดิ ความมนั่ ใจวา่ องคก์ รจะมกี ารพฒั นาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ดงั นนั้ การสมั ภาษณท์ มี นา ของ Surveyor จงึ เปน็ เพยี ง การกระตนุ้ โรงพยาบาลใหน้ า ขอ้ เสนอแนะขององคก์ รกา กบั ดแู ลมาวางแผนพฒั นา ซงึ่ ในปจั จบุ นั มกี ารนา มาตรฐานมาประยกุ ตใ์ ชร้ ว่ มกบั ขอ้ เสนอแนะ ขององค์กรกากับดูแลเป็นการพัฒนาองค์กรตามมาตรฐานจนเกิดความพึงพอใจในระดับหนึ่ง
อ้างอิงจาก Victoria Clinical Governance Policy and Framework กล่าวถึงบทบาทของผู้บริหารโรงพยาบาลนอกจากจะมีหน้าท่ี กากับดูแลในเรื่องการเงิน (financial) และธุรกิจอย่างอื่น (function) ของโรงพยาบาลแล้ว ยังมีหน้าท่ีสาคัญ คือ การดูแลทางคลินิก (clinical care) ซึ่งสถานบริการสุขภาพมีการขับเคลื่อนเพิ่มคุณค่า (value) ของงานบริการ ซึ่งหมายถึงผลลัพธ์ของการรักษาท่ีดี เกิดภาวะแทรกซ้อนจากการรักษา (complication) นอ้ ยหรอื ไมเ่ กดิ ขน้ึ เลย ผรู้ บั บรกิ ารเกดิ ความพงึ พอใจและเปน็ ประสบการณท์ ดี่ ขี องผปู้ ว่ ย (patient experience) สงิ่ เหลา่ นสี้ ะทอ้ น ให้เห็นคุณภาพของ clinical care ซึ่งการกากับกิจการทั่วไปอาจไม่ครอบคลุมถึงภารกิจสาคัญส่วนน้ี ดังนั้นในมาตรฐานใหม่ จึงมีการปรับเพิ่มระบบ การกากับดูแลทางคลินิก เพื่อให้มั่นใจว่าคุณภาพของผลลัพธ์ทางคลินิกจะสูงขึ้นอย่างต่อเน่ือง โดยมีองค์กรอื่นมาช่วยกากับดูแล ซึ่งอาจเป็นองค์กร กากับที่มีอยู่เดิมแต่เพิ่มกระบวนการให้ครอบคลุมถึงการกากับดูแลทางคลินิกท่ีสอดคล้องกับมาตรฐานฉบับใหม่ใน Part I-1 การนา (LED) ดังน้ัน ผู้นาระดับสูงจึงต้องวางระบบการกากับดูแลทางคลินิกให้เชื่อมโยงถึงกระบวนการคุณภาพ โดยใช้คาถาม “Why” ให้สามารถมองเห็นเป้าหมาย คือ ความปลอดภัยของผู้ป่วยซ่ึงเป็นหัวใจของงานบริการทางคลินิก “What”
อะไร คือ Clinical Governance ซ่ึงเป็นกรอบแนวคิดของการกากับ องค์กร เพื่อให้สาธารณชน ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder) ตลอดจนเครือข่ายชุมชน เกิดความมั่นใจว่ากระบวนการให้บริการมีความ ปลอดภัยและมีมาตรฐาน สิ่งสาคัญ คือ ถ้าเกิดเหตุการณ์ละเมิดสิทธิผู้ป่วย ผู้นาต้องทบทวน กากับ ติดตามให้มีการพัฒนาคุณภาพ สุดท้ายทาอย่างไร “How” ค้นหาวิธีการให้ได้มาซ่ึงผลลัพธ์ท่ีต้องการ โดยมีการกากับด้วย body framework เพื่อสร้างระบบบริการให้มีมาตรฐานสูง โดยผู้นา ต้องสร้างความมั่นใจว่าการดูแลรักษาของแพทย์ พยาบาล ผู้ประกอบ วิชาชีพในโรงพยาบาลมีมาตรฐานการดูแลท่ีสูง (high standard of care) โปร่งใส ตรวจสอบได้ มีการกากับ ติดตาม และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยใช้กระบวนการซึ่งผ่านการศึกษาความต้องการของ Stakeholder ทุกฝ่าย ใช้ประสบการณ์ของผู้ป่วย (patient experience) ร่วมกับ การจัดการข้อมูล (information management) อย่างมีประสิทธิภาพ
การกากับดูแลทางคลินิก (Clinical Governance) เป็นกระบวนการที่ต้องกระทาอย่างต่อเนื่อง โปร่งใส และมีการเปิดเผยต่อสาธารณะ ในแต่ละเร่ืองท่ีเกิดขึ้นอย่างเหมาะสม ความคาดหวัง คือ ผลลัพธ์ท่ีเป็นเลิศ (excellence) คุณภาพการดูแล (quality of care) ได้รับการพัฒนา มกี าร Learning and share จนเกดิ เปน็ วฒั นธรรมการเปลย่ี นแปลงเพอ่ื การพฒั นาองคก์ รอยา่ งตอ่ เนอื่ ง การกา กบั ดแู ลทางคลนิ กิ มี 6 องคป์ ระกอบ คอื
1. การตรวจสอบทางคลินิก (clinical audit) เป็นการกากับว่ากระบวนการตรวจรักษาและการดูแลที่ผู้ป่วยได้รับมีความสอดคล้องกับ มาตรฐาน CPG, Care Map ที่กาหนดไว้ โดยการทบทวนเวชระเบียน (medical review) ตามรอยการปฏิบัติตามมาตรฐาน (compliance) หรือ CPG / Care Map และติดตามประสิทธิภาพการรักษา (performance)
2. ประสิทธิผลทางคลินิก (clinical effectiveness) เทียบกับมาตรฐานที่ควรเป็น (standard of care) ซ่ึงมีความสาคัญมากในการกากับ ติดตาม เพราะจะทาให้เห็นภาพรวมของคุณภาพงานบริการทางคลินิก
3. การวิจัยและพัฒนา (research and development) ในประเด็นท่ีผลการดาเนินงานยังไม่ได้มาตรฐาน หรือยังไม่บรรลุเป้าหมาย
4. การเปิดเผยข้อมูลแบบเปิดกว้าง (openness) เพื่อการเรียนรู้สู่การพัฒนาโดยผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม
5. การบริหารความเสี่ยง (risk management) ในมาตรฐานฉบับใหม่ได้มีการปรับปรุงเพ่ิมเติมให้ครอบคลุม risk register, 2 P Safety,
clinical review ซ่ึงเป็นหน้าที่ขององค์กรแพทย์ องค์กรพยาบาล หรือองค์กรวิชาชีพอ่ืนๆ นาไปประยุกต์ใช้สู่การปฏิบัติสร้างระบบค้นหา ป้องกัน และติดตามการเกิดอุบัติการณ์ความเสี่ยงทางคลินิก
 126 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)
 





















































































   124   125   126   127   128