Page 128 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 128

B1-202
19th HA National Forum
 จะเห็นได้ว่าการกากับดูแลทางคลินิก (Clinical Governance) สามารถทาให้ผู้รับบริการเกิดความม่ันใจในคุณภาพของงานบริการ ทางคลินิก ซ่ึงเป็นความรับผิดชอบของผู้นาระดับสูง ท่ีต้องมีการกาหนดตัวช้ีวัดที่ใช้ติดตามผลลัพธ์ความสาเร็จของการดูแลรักษาผู้ป่วยในภาพรวม หากผลลัพธ์ของการดูแลรักษายังไม่ดี ไม่สามารถเปรียบเทียบกับโรงพยาบาลในระดับเดียวกันได้ หรือมีปัญหาสุขภาพเกิดขึ้นในชุมชน ผู้บริหารต้อง รับผิดชอบ (accountability) แก้ปัญหาและป้องกันภัยสุขภาพในชุมชน สร้างและพัฒนาระบบบริการอย่างปลอดภัย โดยสนับสนุน กากับ ดูแล ให้แพทย์ พยาบาลมีความรู้ ความสามารถ และทักษะ เหมาะสมเพียงพอที่จะดูแลผู้ป่วยได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย บุคลากรทางการแพทย์ มีสุขภาพที่แข็งแรง ไม่มีโรคหรือภาวะอ่ืนใดที่อาจจะเป็นอันตรายต่อผู้ป่วย พร้อมให้การดูแล รักษาผู้ป่วยตามมาตรฐานวิชาชีพ อย่างมีจริยธรรม มกี ารพฒั นาความรู้ความสามารถทกั ษะของตนเองอยา่ งตอ่ เนอื่ งและมกี ารพฒั นาแนวทางการดแู ลผปู้ ว่ ย(CPG)รว่ มกนั อยา่ งสมา่ เสมอสามารถปฏบิ ตั ิ งานร่วมกันได้ โดยมุ่งประโยชน์ต่อผู้ป่วย และโอกาสการเข้าถึงการรักษาเป็นสิ่งสาคัญ ร่วมกับการจัดสรรทรัพยากรให้เหมาะสม เพียงพอ ท่ีจะทาให้ โรงพยาบาลมีการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเน่ือง มีการติดตาม และแก้ปัญหาด้านจริยธรรมในกระบวนการดูแลผู้ป่วย สร้างบรรยากาศที่เอ้ือต่อการ ทางานร่วมกันเป็นทีม จะเห็นว่าการกากับดูแลทางคลินิก (Clinical Governance) ที่กาหนดไว้ในมาตรฐาน
Part I ได้มีความเชื่อมโยงไปยังหมวดอื่น ฉะน้ันผู้บริหารจึงต้องมองภาพรวมโรงพยาบาลอย่างรอบด้าน โดยมีเป้าหมายสุดท้ายเพื่อให้เกิด วัฒนธรรมความปลอดภัยข้ึนในองค์กร
วัฒนธรรมความปลอดภัย (safety culture) จะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อบุคลากรมีความต่ืนตัว ตระหนักรู้ถึงปัจจัยที่อาจเป็นสาเหตุ สร้างความไม่ปลอดภัยให้กับผู้ป่วยและบุคลากรผู้ให้บริการ (Patient & Personnel Safety: 2 P Safety) เช่น แพทย์พยาบาลไม่คุยกัน เป็นความเส่ียงท่ีอาจทาให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลผิดพลาด หรือไม่ท่ัวถึง การท่ีบุคลากรผู้ปฏิบัติงานกังวลกลัวผู้บริหารจนไม่กล้ารายงานปัญหา และอปุสรรคทแี่ท้จรงิเลอืกเฉพาะตวัชี้วดัผลลพัธ์ความสาเรจ็ทดี่มีารายงานสงิ่เหลา่นสี้ะทอ้นภาพของวฒันธรรมความปลอดภยัในองคก์รทยี่งัตอ้งมี การพัฒนา ดังนั้นจึงเป็นความรับผิดชอบของผู้บริหารที่ต้องธารงคุณภาพและมาตรฐานในงานบริการ ยกระดับคุณภาพงานบริการอย่างต่อเนื่อง และสรา้ งหลกั ประกนั การดแู ลผปู้ ว่ ยใหม้ คี ณุ ภาพสงู สามารถนา ผลไปเทยี บเคยี งกบั องคก์ รอนื่ ได้ดว้ ยการบรหิ ารจดั การงานบรกิ ารทางคลนิ กิ อยา่ งเหมาะสม สรา้ งสภาพแวดลอ้ มทดี่ เี ออื้ ตอ่ การทา งาน และจดั ใหม้ คี ณะกรรมการกา กบั ดแู ลงานบรกิ ารทางคลนิ กิ มกี ารรายงานผลการดา เนนิ งานอยา่ งสมา่ เสมอ คณะกรรมการชุดน้ีควรประกอบด้วยประธานองค์กรแพทย์ หัวหน้าฝ่ายการพยาบาล หัวหน้าฝ่ายงานบริหารโดยมีผู้อานวยการโรงพยาบาล เป็นประธาน เพื่อให้สามารถขับเคลื่อนการพัฒนางานบริการทางคลินิกให้เกิดความปลอดภัยสูงสุด ลดผลกระทบที่อาจเกิดกับผู้ป่วย ชุมชน สังคม บุคลากรหรือแม้กระท่ังชื่อเสียงของโรงพยาบาล
ดังน้ัน การกากับดูแลทางคลินิก (Clinical Governance) อย่างมีประสิทธิภาพ จึงประกอบด้วยการสรรหาบุคลากรที่มีคุณสมบัติ มีการ ศกึ ษาและการฝกึ อบรมอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง (education and training) รว่ มกบั การวเิ คราะหแ์ นวโนม้ กลมุ่ ผรู้ บั บรกิ าร เพอ่ื เตรยี มบคุ ลากรใหพ้ รอ้ มสา หรบั งานบรกิ าร การสรา้ งกระบวนการเรยี นรเู้ รม่ิ ตงั้ แตก่ ารปฐมนเิ ทศทา ใหม้ นั่ ใจไดว้ า่ บคุ ลากรมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ และทกั ษะเพยี งพอสา หรบั การใหบ้ รกิ าร ทางคลินิกอย่างมีคุณภาพ เช่น วิเคราะห์กลุ่มผู้รับบริการเวรเปล พบแนวโน้มส่วนใหญ่เป็นกลุ่มผู้สูงอายุที่มีจานวนเพิ่มขึ้น ผู้ป่วยกลุ่มดังกล่าว มีความต้องการบริการสุขภาพที่แตกต่างจากวัยอื่น ทั้งน้ีเพราะความบกพร่องในการมองเห็น การได้ยิน ท่ีสาคัญกระดูกจะบางลง ถ้าขยับ อยา่ งไมร่ ะมดั ระวงั อาจเกดิ การหกั ของกระดกู ได้ สงิ่ เหลา่ นพ้ี นกั งานเปลตอ้ งรบั ทราบและตอ้ งระวงั ขณะเคลอ่ื นยา้ ยผปู้ ว่ ย เพอื่ ปอ้ งกนั การเกดิ เหตกุ ารณ์ ไมพ่ งึ ประสงค์ ดงั นน้ั ผบู้ รหิ ารและทมี นา จงึ ตอ้ งวางระบบกา กบั ตดิ ตามตรวจสอบทางคลนิ กิ (clinical audit) หรอื ทบทวนการดแู ลผปู้ ว่ ย พรอ้ มตดิ ตาม ผลลพั ธท์ างคลนิ กิ (clinical outcome) เพอื่ ใหเ้ หน็ ภาพรวมของงานบรกิ าร นา มาวเิ คราะห์ วจิ ยั และพฒั นาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง (research and development) ทมี ตอ้ งมกี ารเปดิ เผยขอ้ มลู (openness) และรบั ฟงั ความคดิ เหน็ เพอื่ Learning and share โดยเฉพาะเรอ่ื งการบรหิ ารความเสยี่ ง (risk management) ทม่ี อี ยเู่ ปน็ จา นวนมากในองคก์ ร ตอ้ งทา ความเขา้ ใจในเรอื่ งความเสย่ี งและอบุ ตั กิ ารณ์ ซง่ึ ไมเ่ หมอื นกนั “ความเสย่ี ง” หมายถงึ โอกาสทจ่ี ะเกดิ อนั ตราย ต่อผู้ป่วยหรือบุคลากรแต่ยังไม่เกิด ถ้าเกิดขึ้นแล้วจะเรียกว่า “อุบัติการณ์” ฉะน้ันมาตรฐาน ฉบับที่ 4 จึงกาหนดให้มีการทาทะเบียนความเสี่ยง (risk register) ซึ่งเป็นเคร่ืองมือสาหรับให้ผู้บริหารใช้ติดตามดูความเสี่ยงในภาพรวมของโรงพยาบาล โดยเฉพาะความเสี่ยงสาคัญลาดับต้นๆ ท่ีได้ จากการทา risk matrix เพื่อให้การสนับสนุนทรัพยากร เร่งดาเนินการแก้ไขและปรับเปล่ียนระบบ เป็นการสนับสนุนการป้องกันความเสี่ยงเชิงระบบ เพ่ือนาไปสู่ประสบการณ์ท่ีดีของผู้ป่วย (patient experience) ซึ่งเริ่มตั้งแต่ก่อนเข้ามารับบริการในโรงพยาบาล เช่น ชื่อเสียงของโรงพยาบาล สถานที่ การต้อนรับ ทุกจุดบริการล้วนเป็นประสบการณ์ของผู้ป่วยต่อโรงพยาบาลท้ังส้ิน
ฉะนั้นการตามรอยทางคลินิกจึงเป็นวิธีหน่ึงที่ผู้บริหารควรนามาใช้ในการกากับติดตามดูแลทางคลินิก (Clinical Governance) โดยการตามรอยกระบวนการดูแลของแต่ละจุดบริการเปิดทุกประสาทสัมผัสในฐานะผู้ป่วย เพื่อสัมผัสบรรยากาศจริงดัวยความเข้าใจองค์ประกอบ ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนให้บริการดังกล่าวทั้งผู้ป่วย บุคลากรทางการแพทย์ ระบบงานบริการ ระบบการจัดการข้อมูล กระบวนการดูแลผู้ป่วย กระบวนการเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพ/ระบบงานในโรงพยาบาล องค์ประกอบเหล่านี้ประธานองค์กรแพทย์ซ่ึงอยู่ในคณะกรรมการกากับดูแล ทางคลินิกในภาคปฏิบัติมีบทบาทหน้าที่กากับให้ได้มาตรฐานตาม
128 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)
 


























































































   126   127   128   129   130