Page 129 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 129
B1-202
19th HA National Forum
บริบทของโรงพยาบาล เช่น โรงพยาบาลขนาดเล็ก มีแพทย์จานวน 2-3 คน ต้องร่วมกันดูแลผู้ป่วย สื่อสารข้อมูลทางคลินิกเพ่ือการดูแล อย่างต่อเน่ือง ใช้หลักฐานทางวิชาการในการดูแลผู้ป่วย นอกจากนั้นแพทย์ควรเป็นส่วนหน่ึงของทีมพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยแบบสหสาขา วิชาชีพ โดยเป็นผู้นาการทบทวนทางคลินิกเพื่อผลลัพธ์การดูแลผู้ป่วยที่ดีข้ึน แต่ถ้าเป็นโรงพยาบาลขนาดใหญ่ มีแพทย์เฉพาะทางที่หลากหลายสาขา จานวนมาก นอกจากจะทาหน้าที่เหมือนโรงพยาบาลขนาดเล็กแล้วแพทย์แต่ละสาขาต้องดูแลผู้ป่วยร่วมกัน การสื่อสารข้อมูลทางคลินิกระหว่างกัน ต้องมีความชัดเจน โดยการส่ือสารมีหลายช่องทาง เช่น สื่อสารผ่านใบปรึกษา (consult) การส่ือสารผ่านเวชระเบียน การเขียน progress note ท่ีมีประเด็นสามารถส่งต่อข้อมูลแผนการดูแลผู้ป่วยได้ นอกจากนี้องค์กรแพทย์ควรมีบทบาทคัดเลือกแพทย์เข้ามาปฏิบัติงานในโรงพยาบาล และควรจะมีส่วนในการคัดเลือกตัวชี้วัดที่ใช้กากับติดตามประเมิน clinical performance ของแพทย์ พร้อมทาหน้าท่ีกากับติดตามตัวชี้วัดดังกล่าว ค้นหาส่วนขาดท่ีอาจทาให้ตัวชี้วัดไม่บรรลุเป้าหมายนาไปพัฒนาอย่างสม่าเสมอ เช่น จัดหาสถานที่เพื่อฝึกอบรมในส่วนท่ีขาดต้องพัฒนา ทาให้แพทย์ มีความรู้ความสามารถ และทักษะในการรักษาเพิ่มขึ้น
สาหรับองค์กรพยาบาลต้องมีบทบาทในการกากับติดตามทางคลินิก (Clinical Governance) เช่นกัน โดยหัวหน้ากลุ่มการพยาบาล สนับสนุนให้มีกระบวนการประเมินความรู้ ความสามารถ และทักษะของพยาบาลที่สอดคล้องกับงานในความรับผิดชอบ มีการนิเทศ กากับดูแล การปฏิบัติทางการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยอย่างสม่าเสมอ เพื่อรับทราบปัญหา อุปสรรคในการทา งาน ประเมินการจัดอัตรากาลัง แบบยืดหยุ่น ตามภาระงานอยา่ งเหมาะสม รว่ มกบั ทมี นา โรงพยาบาลในการสนบั สนนุ ใหเ้ กดิ วฒั นธรรมความปลอดภยั ในองคก์ ร ใชห้ ลกั ฐานทางวชิ าการในการดแู ล ผู้ป่วยตามมาตรฐานวิชาชีพ รับผิดชอบประสานข้อมูลแผนการดูแลผู้ป่วยของทีมสหวิชาชีพ และเข้าร่วมในการทบทวนทางคลินิกเพื่อให้ได้มุมมอง ท่ีหลากหลาย มีการติดตามประเมินผลการปฏิบัติการพยาบาลของแต่ละบุคคลและหน่วยงานอย่างเป็นระบบ (systematic) สามารถทาซ้าได้ แม้เปลี่ยนหัวหน้างาน มีการพัฒนาความรู้ ความสามารถ และทักษะของพยาบาลท่ีสอดคล้องกับงานท่ีปฏิบัติอย่างสม่าเสมอ ซึ่งหมายถึงหัวหน้างาน ตอ้ งทราบ Competency ของบคุ ลากรทเี่ หมาะสมกบั บรบิ ทหรอื ภาระงาน คน้ หาแนวทางเพอ่ื การสนบั สนนุ การปฏบิ ตั งิ านของบคุ ลากรทป่ี ระสบการณ์ ต่างกันให้สามารถทางานได้มาตรฐานเดียวกัน
จะเห็นได้ว่า Clinical Governance มีการขยายขอบเขตจากผู้บริหารระดับสูงไปสู่หัวหน้างาน/หัวหน้าหน่วยงาน เพื่อการปฏิบัติ โดยจัดทาแนวทางปฏิบัติทางคลินิก (clinical practice guidelines) ตามมาตรฐานวิชาชีพและหลักฐานทางวิชาการ ทีมนาจัดให้มีการฝึกอบรม สอื่ สาร สนบั สนนุ ใหส้ ามารถนา แนวทางทกี่ า หนดลงสกู่ ารปฏบิ ตั แิ ละจดั ใหม้ กี ลไกกา กบั ตดิ ตามใหม้ นั่ ใจวา่ แนวทางปฏบิ ตั ดิ งั กลา่ วมกี ารนา ไปปฏบิ ตั จิ รงิ สร้างระบบจัดการข้อมูลสาคัญที่เกิดขึ้นในกระบวนการดูแล ประกอบด้วย ผลลัพธ์สาคัญในการดูแลผู้ป่วย เทียบกับมาตรฐาน benchmarking กับองค์กรอื่นในระดับเดียวกัน อาการแทรกซ้อนที่เป็นประเด็นเฝ้าระวัง รวมทั้งอัตราการเสียชีวิต และอุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนท่ีเกิดขึ้น ในกระบวนการดูแลรักษา สุดท้ายองค์กรพยาบาลต้องสนับสนุนการจัดให้มีกระบวนการทบทวน นาประเด็นท่ีเป็นปัญหาไปปรับปรุง พัฒนาและต่อยอดเป็นงานวิจัย สิ่งสาคัญของการกากับดูแลทางคลินิก คือ การกาหนดผู้รับผิดชอบ และขอบเขตความรับผิดชอบให้ชัดเจน มีการกาหนดกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพที่ทาอย่างต่อเน่ือง สม่าเสมอ มีนโยบายในการค้นหา ควบคุม จัดการกับความเส่ียงต่างๆ ในองค์กร และมีกระบวนการค้นหา ระบุ และจัดการปรับปรุงแก้ไขกรณีที่พบ poor performance ส่ิงเหล่าน้ีสะท้อนให้เห็นภาพการกากับติดตามทางคลินิก (Clinical Governance) ในภาคปฏิบัติขององค์กรวิชาชีพ เพ่ือการพัฒนาระบบงานบริการด้านสุขภาพอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 129