Page 127 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 127

B1-202
19th HA National Forum
 6. การศึกษาและการฝึกอบรม (education and training) เพ่ือเตรียมบุคลากรให้มีความพร้อมสาหรับงานบริการสุขภาพ
อยา่ งไรกต็ ามงานบรกิ ารสขุ ภาพจะใหค้ วามสา คญั กบั ความตอ้ งการและประสบการณท์ ดี่ ขี องผปู้ ว่ ย (patient experience) ซง่ึ จะถกู กา กบั ผ่านการดูแลทางคลินิก (Clinical Governance) ร่วมกับการทบทวนประสบการณ์ทางคลินิก (clinical experience) ให้สอดคล้องกับความต้องการ ของผู้ป่วย เป็นการส่งเสริมให้เกิดประสบการณ์ที่ดีของผู้ป่วยแต่ละราย แต่ละกลุ่ม จึงถือเป็นหัวใจของงานบริการสุขภาพ ดังนั้นการกากับดูแลทาง คลินิกจึงถูกกาหนดไว้ในมาตรฐาน ฉบับที่ 4 ซ่ึงผลที่คาดว่าจะได้รับจากการกากับดูแลทางคลินิก คือ เกิดการวัดและประเมินประสิทธิผลทางคลินิก (measurement of performance) สู่การพัฒนาระบบบริการอย่างต่อเนื่อง ทาให้โรงพยาบาลมี KPI ที่ดีในการดูแลผู้ป่วย ประสบการณ์ของผู้ป่วย ต่อการดูแลดีข้ึน มีศูนย์การดูแลผู้ป่วยที่ดี (patient center care) สิ่งเหล่าน้ีจะเกิดขึ้นได้ผู้บริหารและทีมนาต้องมีการสื่อสารเชิงกลยุทธ์อย่างชัดเจน (strategic direction communication) ผู้นาต้องมีการวิเคราะห์ส่วนขาดและนาผลที่ได้มาใช้ในการจัดสรรทรัพยากร (result allocate) ให้เหมาะสมสาหรับการดูแลผู้ป่วยอย่างความปลอดภัย เช่น การล้างมือ ประกอบด้วย การบริหารจัดการ โดยผู้นา ต้องจัดหาแนวทางปฏิบัติตาม มาตรฐาน WHO กบั การจดั สรรทรพั ยากรอยา่ งเหมาะสม คอื สนบั สนนุ อปุ กรณใ์ นการลา้ งมอื สอ่ื สารเชงิ กลยทุ ธใ์ หผ้ ปู้ ฏบิ ตั ทิ ราบ พรอ้ มกา หนดผลลพั ธ์ ทางคลินิก คือ สถิติการล้างมือท่ีสูงขึ้น อัตราการติดเชื้อและการใช้ Antibiotic ลดลง ลงทุน 3 ล้านบาท ประหยัดรายจ่ายค่า Antibiotic ให้กับ โรงพยาบาลได้ 6 ล้านบาท ลดการติดเชื้อทาให้ประสบการณ์ที่ผู้ป่วยได้รับดีขึ้น สิ่งเหล่านี้สะท้อนให้เห็นถึงประสิทธิภาพของ Clinical Governance ซึ่งเป็นบทบาทของผู้นาระดับสูงที่ต้องทางานร่วมกับทีมแพทย์ เป้าหมายสาคัญ คือ
1.เพ่ิมผลลัพธ์ทางคลินิกที่ดีขึ้น (clinical outcome) ซึ่งไม่ใช่ผลงานรายบุคคล แต่เกิดจากการมีระบบกากับติดตามและการสนับสนุน ทรพั ยากรทดี่ ี การควบคมุ คณุ ภาพ (quality control) สกู่ ารพฒั นาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ทา ใหอ้ งคก์ รเปลยี่ นแปลงไปในทศิ ทางทดี่ ขี น้ึ มงุ่ เนน้ ความปลอดภยั เป็นสิ่งสาคัญ
2. การมีความรับผิดชอบ (accountability) ยอมรับการกากับตรวจสอบการใช้มาตรฐานอย่างโปร่งใส การทาทะเบียนความเส่ียง ยอมรับ การกากับควบคุม มีการบริหารค่าใช้จ่าย รวมทั้งมีความรับผิดชอบต่อความพึงพอใจของทุกฝ่าย (Stakeholder) ข้อมูลเหล่านี้จะถูกเชื่อมโยง ส่งจากหน่วยบริการเข้าทีมนาทางคลินิก และขับเคล่ือนโดยนโยบายของโรงพยาบาล เกิดการกากับดูแลทางคลินิก (Clinical Governance) ทาให้เกิดระบบการดูแลผู้บริโภคทางคลินิกขึ้นในองค์กรสุขภาพ ซึ่งเป็นหนึ่งในกระบวนการส่งมอบงานบริการที่มีคุณค่าให้กับผู้รับบริการ
นพ.มนตรี ลักษณ์สุวงศ์
การกากับดูแลทางคลินิก (Clinical Governance) เป็นบทบาทของผู้บริหารและทีมนาในการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมด้วยการ ธารงคุณภาพ และมาตรฐานของงานบริการดูแลผู้ป่วยตามกรอบของมาตรฐานฉบับท่ี 4 Part I ในการนา Clinical Governance ไปประยุกต์ใช้ สู่การปฏิบัติต้องคานึงถึง 2 ประเด็น คือ
1.ความรับผิดชอบในฐานะผู้นา (accountability) หมายถึง ความรับผิดชอบต่อการกระทาของบุคลากรในองค์กรที่มีผลกระทบถึงผู้ป่วย ชุมชน และสังคม ซึ่งต่างจากความรับผิดชอบในสิ่งท่ีแต่ละบุคคลกระทา (responsibility) ฉะนั้นความรับผิดชอบในฐานะผู้บริหารและทีมนาจึงเป็น accountability รับผิดชอบการกระทาของผู้ที่อยู่ใต้บังคับบัญชา ในฐานะผู้นาจะปฏิเสธการรับรู้ไม่ได้
2. ระบบ มีทั้งการจัดให้มีระบบการทางาน (system) และการนาแนวทางการทางานลงสู่การปฏิบัติอย่างเป็นระบบ (systematic) ซึ่งมีความหมายต่างกัน การจัดให้มีระบบการทางาน เช่น จัดให้มีคณะกรรมการกากับดูแลตรวจสอบ ติดตามตัวช้ีวัด
จัดสรรทรัพยากรอย่างเหมาะสม เพียงพอ เป็นต้น สาหรับการนาแนวทางการทางานลงสู่การปฏิบัติอย่างเป็นระบบ (systematic) ต้องมีแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน มีกระบวนการท่ีทาให้ผู้เกี่ยวข้องได้รับทราบ และเข้าใจแนวทาง
ปฏิบัติอย่างท่ัวถึง เช่น ต้องมีนโยบาย (policy) มีแนวทางปฏิบัติทางคลินิก (Clinical Practice
Guideline : CPG) มีการฝึกอบรมให้มั่นใจได้ว่าผู้ท่ีได้เข้ารับการฝึกอบรม มีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะเพียงพอที่จะนาแนวทางที่กาหนดไปปฏิบัติตามอย่างถูกต้อง เหมาะสม รวมท้ังต้อง มีกระบวนการกากับติดตามหลังจากนาแนวทางลงสู่การปฏิบัติจริง เพื่อประเมินประสิทธิภาพ
ผลลัพธ์ ปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติ พร้อมนาข้อมูลดังกล่าวกลับมาทบทวน และพัฒนา คุณภาพอย่างต่อเน่ือง
  สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 127
 



















































































   125   126   127   128   129