Page 130 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 130
B1-202
19th HA National Forum
บทส่งท้าย
มาตรฐานบริการสุขภาพและความปลอดภัยแห่งชาติ (National Safety and Quality Health Service Standards) กาหนดให้มีการ ตั้งองค์กรกากับดูแลกิจการ (Governance body) แต่ปัจจุบันยังไม่มีความอย่างชัดเจนเท่าที่ควร เช่น เม่ือ
พิจารณาตามโครงสร้างสานักงานสาธารณสุขจังหวัดควรกากับดูแลโรงพยาบาลชุมชนในเขตความรับผิดชอบน่าจะเหมาะสมกว่า ก า ร ก า ก บั ด แู ล ก นั เ อ ง ห ร อื โ ร ง พ ย า บ า ล ท มี ่ ขี น า ด ใ ห ญ ข่ นึ ้ อ า จ ม คี ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ป ร ะ ก อ บ ด ว้ ย แ พ ท ย ผ์ ท้ ู ร ง ค ณุ ว ฒุ เิ ป น็ ท ยี ่ อ ม ร บั น บั ถ อื ค อ ย ก า ก บั ด แู ล เ ป น็ ต น้ การกากับดูแลกิจการของโรงพยาบาลในประเด็น education and training ซึ่งมีการปฏิบัติตามมาตรฐานฉบับใหม่ Part I-6 อยู่แล้ว จะเห็นได้จาก โรงพยาบาลจานวนมากในกระทรวงสาธารณสุขมีการ training นักศึกษาแพทย์ โดยกระบวนการ training แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ การ training แพทย์ที่อยู่ในความรับผิดชอบขององค์กรแพทย์ ซึ่งหมายถึงแพทย์ประจาโรงพยาบาล กับ training ที่เป็นภารกิจของโรงเรียนแพทย์ ในส่วนนี้ จะมหี ลกั สตู รความปลอดภยั (safety curriculum) ทสี่ อดคลอ้ งกบั WHO สง่ิ ทอ่ี ยากเหน็ คอื การบรู ณาการระหวา่ ง training กบั risk management ใหเ้ ปน็ เรอื่ งเดยี วกนั มกี ารตดิ ตามดคู วามเสยี่ งทเี่ กดิ จากการ training เชน่ การกา กบั ตดิ ตามอบุ ตั กิ ารณท์ เี่ กดิ จากการฝกึ ปฏบิ ตั ขิ องแพทยป์ ระจา บา้ น (resident) มีระบบการรายงาน การเฝ้าระวัง การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับผลกระทบอย่างเหมาะสม เป็นต้น จะเห็นได้ว่าการเชื่อมโยงบูรณาการ 2 เรื่อง เข้าด้วยกันจะทาให้สามารถกระตุ้นการค้นหา เพิ่มการตระหนักรู้ถึงความเส่ียงจากการ training สู่การฝึกปฏิบัติอย่างระมัดระวังเพิ่มขึ้น
ในส่วนของการเปิดเผยข้อมูล (openness) ซึ่งประกอบด้วย
1. การเปิดเผยในภาพกว้าง เช่น โรงพยาบาลสามารถรักษาและมีข้อจากัดไม่สามารถรักษาอะไร มีการเปิดเผยข้อมูลทางการแพทย์ ให้สาธารณะรับทราบและช่วยกากับดูแล
2. การเปิดเผยข้อมูลในส่วนของการดูแลรายโรคมี CPG ภาคประชาชนเปิดเผยให้ผู้รับบริการทราบขั้นตอนการดูแลผู้ป่วย และเมื่อ เกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ (Adverse Event : AE) จะเปิดเผย (disclosure) กับสังคมหรือผู้ได้รับผลกระทบตามความเหมาะสม ซึ่งอาจใช้ทักษะ การส่ือสารเปิดเผยข้อมูล (disclosure communication skill) โดยการแสดงความเห็นอกเห็นใจ (show empathy) เข้าใจความรู้สึกคนอื่น มีท่าทีที่จะเปิดเผยกับผู้ป่วยด้วยความจริงใจ จนเกิดการยอมรับ ซ่ึงบางคร้ังใช้วิธีอธิบาย ให้ข้อมูล บางครั้งเพียงแค่รับฟังอย่างต้ังใจ หรือบางครั้ง ต้องปรับข้อมูลให้ตรงกัน การ openness เป็นส่วนหนึ่งของ Clinical Governance ที่เชื่อมโยงกับมาตรฐานขององค์กรแพทย์ เช่น clinical audit ตามดผู ปู้ ว่ ยทเ่ี กดิ AE ไดร้ บั การดแู ลและปฏบิ ตั ติ ามมาตรฐานหรอื ไม่ องคก์ รแพทยค์ วรเปน็ ผนู้ า ทางคลนิ กิ ในการจดั ทา แนวทางปฏบิ ตั ิ พรอ้ มกา กบั ดแู ล และเผยแพร่ good practice idea และ innovation ทางการแพทย์ รวมทั้ง clinical risk reaction ซ่ึงพบว่าองค์กรแพทย์ยังทาน้อย ซึ่งถ้าองค์กร แพทยใ์ หค้ วามสนใจแกไ้ ข ปอ้ งกนั ความเสยี่ งเพม่ิ ขนึ้ จะสามารถสรา้ งความมนั่ ใจวา่ ผปู้ ว่ ยจะมคี วามปลอดภยั สงู จากงานบรกิ ารทางคลนิ กิ การทา ในสงิ่ ท่ี ถูกต้องทุกประการ ต้ังแต่การมอบหมายงานถูกคน (right person) ตามความรู้ ความสามารถ ทาในส่ิงที่ถูกต้อง (evidence base) ทาในส่ิงท่ีดี ตาม skill ทท่ี า ได้ ทา ในเวลาและในพนื้ ที่ (area) ทถี่ กู ตอ้ ง รว่ มกบั การนา Clinical Governance ไปประยกุ ตใ์ ช้ เพอื่ ขบั เคลอื่ นใหไ้ ดผ้ ลลพั ธท์ างคลนิ กิ ที่ดีเป็นส่วนหนึ่งในการเพิ่มคุณค่าของระบบบริการสุขภาพได้อย่างต่อเน่ืองและยั่งยืน
ข้อค้นพบใหม่ทีไ่ด้จากเรือ่ง
การกากับดูแลทางคลินิก (Clinical Governance) ซ่ึงถูกกาหนดไว้ในมาตรฐานฉบับใหม่ ผู้บริหารระดับสูงขององค์กรบริการสุขภาพ สามารถนาไปประยุกต์ใช้เป็นเครื่องมือชี้นาการเปลี่ยนแปลงขับเคล่ือนการพัฒนาระบบบริการทางคลินิกได้อย่างต่อเน่ือง และทาให้องค์กรวิชาชีพ รบั ทราบบทบาทหนา้ ทกี่ ารมสี ว่ นรว่ มกา กบั ดแู ลทางคลนิ กิ เชน่ องคก์ รแพทย์ องคก์ รพยาบาล ถา้ มตี ามรอยงานบรกิ ารทางคลนิ กิ ในแตล่ ะหนว่ ยบรกิ าร จะทาให้รับทราบบรรยากาศ ปัญหา อุปสรรค ของการให้บริการ รวมทั้งความต้องการและประสบการณ์ของผู้ป่วยในการเข้ารับบริการทางคลินิก อย่างแท้จริง เม่ือนาข้อมูลดังกล่าวมาวิเคราะห์จะทาให้สามารถขับเคลื่อนการพัฒนาได้อย่างต่อเน่ืองตรงประเด็น มีทิศทางท่ีชัดเจน เกิดประโยชน์ ทั้งผู้ให้และผู้รับบริการ ตลอดจนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในองค์กร เป็นการส่งมอบงานบริการทางคลินิกที่มีคุณค่าสอดคล้องกับความต้องการของผู้ป่วย และมีความปลอดภัยสูงสุด
ปจัจัยแห่งความสาเร็จ
• ผู้บริหารให้การสนับสนุน มีนโยบายผลักดันให้เกิดการกากับดูแลทางคลินิกแบบมีส่วนร่วมอย่างอย่างชัดเจนและเป็นรูปธรรม
• การส่ือสารนโยบาย แนวทางการทางาน ระบบงานที่ได้รับการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงอย่างมีประสิทธิภาพ ทาให้เกิดการปฏิบัติตาม อย่างครอบคลุมทุกพื้นที่ภายในองค์กร
• การทางานเป็นทีมเช่ือมโยงกันแบบสหสาขาวิชาชีพ การรับฟังความคิดเห็นซึ่งกันและกัน รวมทั้งการรับฟังข้อเสนอแนะจากทีมนาระบบ งานสาคัญ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายในองค์กร
• การกาหนดตัวช้ีวัดที่สะท้อนให้เห็นถึงความสาเร็จของผลลัพธ์ทางคลินิกที่ดีขึ้น และไม่เป็นภาระของผู้ปฏิบัติในการจัดเก็บ
• การนาข้อมูลที่ได้จากการกากับติดตามในแต่ละรอบเวลาไปวางแผนพัฒนาระบบงาน ไม่ใช่นาไปประเมินผลการปฏิบัติงานให้คุณให้โทษ เป็นรายบุคคล
• ความรู้ความเข้าใจข้อกาหนดในมาตรฐานแต่ละประเด็น ความสามารถในการประยุกต์ใช้มาตรฐานสู่การปฏิบัติ
130 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)