Page 118 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 118

A4-202
19th HA National Forum
 ที่ผ่านมา พบว่าองค์กรไม่ให้ความสาคัญกับการวิเคราะห์บริบทเท่าที่ควร การบริหารความเสี่ยงส่วนใหญ่ให้ความสนใจกับความเสี่ยง ในอดตี โดยนา อบุ ตั กิ ารณท์ เี่ กดิ ขนึ้ แลว้ มาทบทวน (แบบตงั้ รบั ) การวเิ คราะหบ์ รบิ ทขององคก์ รยงั ทา กนั นอ้ ย ถา้ มองการบรหิ ารความเสยี่ งไปในอนาคต ให้ความสนใจกับความเสี่ยงที่ยังไม่เกิดอุบัติการณ์ (แบบเชิงรุก) การวิเคราะห์บริบททั้งภายนอกและภายในองค์กรจะช่วยทาให้รับรู้ถึงความสัมพันธ์ ระหว่างความเสี่ยงกับสถานการณ์สิ่งแวดล้อมของบริบทที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเฉพาะความเสี่ยงในระดับองค์กรจาเป็นต้องวิเคราะห์บริบท เพราะมี ความเสี่ยงแฝงอยู่เป็นจา นวนมาก สิ่งแวดล้อมภายนอกองค์กร ประกอบด้วยระบบการเงินการคลัง ความคาดหวังของประชาชน ดิจิทัลเทคโนโลยี ที่เปล่ียนแปลงไป ล้วนส่งผลกระทบต่องานบริการและความต้องการ (demand) ของผู้รับบริการ สาหรับมุมมองของผู้ผลิต (supplier) ต้องพิจารณา บรบิ ทองคก์ รทเี่ ปน็ ปจั จยั สง่ เสรมิ ทา ใหเ้ กดิ ความเสยี่ ง เชน่ ชว่ งอายขุ องบคุ ลากร ถา้ สว่ นใหญอ่ ยใู่ นชว่ ง Gen Z อาจมกี ารเปลยี่ นงานบอ่ ย ความพรอ้ ม และความก้าวหน้าของเทคโนโลยีก็อาจส่งผลทาให้ความเสี่ยงในองค์กรเพ่ิมข้ึนตามมา
การวิเคราะห์บริบทองค์กรเป็นสิ่งจาเป็น ทาให้สามารถรับรู้ความเสี่ยงในองค์กร โดยผ่านกระบวนการสื่อสารและปรึกษาหารือผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย (stakeholder) เพ่ือให้ได้ปัจจัยนาเข้า (input) ในการระบุความเสี่ยงและแนวทางป้องกันอย่างครอบคลุม โดยเฉพาะความเส่ียงทางคลินิก การสอ่ื สารปรกึ ษาหารอื กนั ภายในทมี PCT (Patient Care Team) ระหวา่ งวชิ าชพี จะทา ใหส้ ามารถรบั รคู้ วามเสยี่ งในกระบวนการดแู ลผปู้ ว่ ยไดเ้ พม่ิ ขนึ้
การติดตามและทบทวนอย่างต่อเน่ืองเป็นหัวใจสาคัญท่ีทาให้การบริหารความเสี่ยงมีชีวิต เป็นพลวัต ตามขั้นตอนและระยะเวลาที่กาหนดไว้ การทาทะเบียนจัดการความเสี่ยง (risk register) สามารถตอบทุกขั้นตอนของการบริหารความเส่ียงได้ ผู้เข้าร่วมประชุมมีความคุ้นชินกับบัญชี ความเส่ียง (risk profile) อยู่แล้ว ถ้าพิจารณาว่ากระบวนการบริหารความเส่ียงประกอบด้วย การระบุความเสี่ยง การประเมินจัดลาดับความสาคัญ ของความเสี่ยง การจัดการรับมือกับความเสี่ยง การกากับติดตามและทบทวน จะพบว่า risk profile ครอบคลุมใน 2 ขั้นตอนแรก คือ การระบุความเสี่ยง และการประเมินเพื่อจัดลาดับความสาคัญของความเสี่ยง แต่ทะเบียนจัดการความเส่ียง (risk register) จะครอบคลุมทั้ง 4 กระบวนการ คือเป็นการ ต่อยอดจาก risk profile ท่ีจัดทากันอยู่แล้ว ทาให้เกิดการบริหารความเสี่ยงและการพัฒนาอย่างต่อเน่ือง
จากคาถามที่พบบ่อยว่า “risk profile และ risk register มีความแตกต่างกันอย่างไร” “ถ้าทา risk profile แล้วต้องทา risk register หรือไม่” โดยทั่วไปเราจะทา risk profile ในช่วงต้นปี ถึงข้ันตอนการวิเคราะห์และจัดลาดับความสาคัญของความเส่ียง มักจะแยกกันทา ในแต่ละหน่วยบริการ ไม่เห็นภาพรวมองค์กร
ขอใหน้ กึ วา่ risk register เปน็ การตอ่ ยอดจาก risk profile โดยนา ความเสยี่ งทจี่ ดั ลา ดบั ความสา คญั แลว้ มาวางแผนรบั มอื และมกี ารตดิ ตาม ทบทวนความเสี่ยงดังกล่าวอย่างต่อเน่ือง มาตรฐาน ISO 30001 ใช้คาว่า risk treatment ซึ่งหมายถึงการรับมือกับความเสี่ยง ซึ่งมี 2 ขั้นตอน คือ การวางแผนรับมือ (risk treatment planning) และการปฏิบัติตามแผนท่ีวางไว้ (risk control)
เห็นได้ว่าทะเบียนจัดการความเสี่ยง (risk register) มีความครอบคลุมกระบวนการบริหารความเสี่ยง 4 ขั้นตอน ดังน้ี
1. การระบุความเสี่ยง
(risk identification)
เป็นกระบวนการค้นหาและรับรู้ความเสี่ยง โดยใช้ข้อมูลการวิเคราะห์เชิงทฤษฎี (การทา FMEA หรือการวิเคราะห์กระบวนการ) ความ เห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย คาแนะนาของผู้เช่ียวชาญ เพ่ือการระบุความเสี่ยงท่ีส่งผลต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กรซ่ึงต้องมีคานิยาม เพ่ือความเข้าใจตรงกัน
  118 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)
 






















































































   116   117   118   119   120