Page 133 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 133

B2-202
19th HA National Forum
  นพ.สุรชัย ปัญญาพฤทธิพ์ งศ์
ยงั กลา่ วตอ่ วา่ ไมว่ า่ จะตดั สนิ ใจใดๆ ตอ้ งคา นงึ ถงึ “คณุ คา่ ”ทมี่ อบใหค้ รอบครวั ดว้ ย ซง่ึ จากเหตกุ ารณน์ อ้ี าจมบี างประเดน็ ทเ่ี ราสามารถทา ได้
กรณีศึกษาที่ 2 จากการตรวจเลือดผู้ป่วยชายรายหนึ่งพบว่า ผลเป็น HIV positive ผู้ป่วยขอร้องไม่ให้แจ้งผลเลือดกับภรรยา แพทย์จึง แนะนาให้ผู้ป่วยแจ้งผลเลือดให้ภรรยาทราบด้วยตนเอง ต่อมาผู้ป่วยรายน้ีเสียชีวิต ภรรยาจึงแต่งงานใหม่ เม่ือตั้งครรภ์ตรวจพบว่าผลเลือด HIV positive โรงพยาบาลแนะนาให้แจ้งผลกับสามีใหม่ แต่ผู้ป่วยปฏิเสธและขอร้องไม่ให้แจ้งผลเลือดกับสามีใหม่ เมื่อคลอดบุตรจึงได้ทราบว่าสามี ใหม่คนน้ีมีภรรยาอยู่แล้วและยังอยู่ด้วยกัน
วิทยากรตั้งคาถามชวนคิดว่าจากกรณีเช่นน้ีท่านมีความเห็นอย่างไร ใช้หลักการอะไร และในฐานะผู้นาระดับสูงมีเรื่องใดท่ีโรงพยาบาล ควรจะต่อยอดจากกรณีศึกษา ผู้เข้าร่วมประชุมแสดงความคิดเห็นในหลายประเด็น สรุปได้ว่า
1) ใช้หลักคิดว่าส่ิงที่เราตัดสินใจไปแล้วต้องไม่ตามหลอกหลอน ต้องสร้างแรงบันดาลใจให้คนไข้ 2) พิทักษ์สิทธิผู้ป่วยโดยไม่บอกผลเลือดแก่คู่สมรส แต่ใช้การดูแลต่อเน่ือง มีการติดตามระยะยาว 3) ใช้หลัก couple counseling และสร้างความไว้วางใจ
นพ.สมจิตต์ ช้เีจริญ
เสนอว่า ในมุมมองด้านสิทธิผู้ป่วย คือผู้ป่วยมีสิทธิท่ีจะบอกผลเลือดแก่บุคคลอ่ืนหรือไม่ก็ได้ แต่ในฐานะของผู้ประกอบวิชาชีพต้องคานึง ถึงกรณีที่ผู้ป่วยติดเช้ือและมีโอกาสแพร่เชื้อให้ภรรยา ซ่ึงการท่ีไม่บอกผลเลือดอาจรอนสิทธิของอีกบุคคลหนึ่งและอาจละเมิดจริยธรรม ส่วนในฐานะ ผู้บริหารต้องนาเร่ืองนี้พูดคุยกับผู้เก่ียวข้องและกาหนดหลักปฏิบัติกว้างๆ เพื่อเป็นแนวทางให้ผู้ประกอบวิชาชีพในการตัดสินใจท่ีถูกต้อง มีเหตุผล และมีความสบายใจทุกฝ่าย
นพ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
ให้ความเห็นว่า ในเร่ืองน้ีเป็นบทบาทสาคัญของกระบวนการ counseling ท่ีจะช่วยผู้ป่วยและภรรยาได้ ซ่ึงถ้ากระบวนการ counseling ได้ผล เรื่องน้ีจะไม่เป็น ethical dilemma แต่หากไม่ได้ผลจะเกิดปัญหาผู้ป่วยมีโอกาสแพร่เชื้อให้แก่ภรรยา หากพิจารณาหลักสิทธิมนุษยชนของ ผตู้ ดิ เชอื้ HIV/ผปู้ ว่ ย AIDS ขอ้ แรกคอื “สทิ ธคิ วามเปน็ สว่ นตวั ” ซง่ึ วรรคสดุ ทา้ ยกา หนดไวว้ า่ “ขอ้ มลู เกยี่ วกบั สขุ ภาพของบคุ คลทกุ อยา่ งตอ้ งถอื เปน็ เรอื่ ง สว่ นตวั และเปน็ ความลบั การเปดิ เผยขอ้ มลู จะตอ้ งไดร้ บั ความยนิ ยอมโดยความสมคั รใจของบคุ คลนน้ั หลงั จากทบี่ คุ คลนนั้ ไดร้ บั รรู้ บั ทราบ” นเี่ ปน็ กฎ สากลที่คุ้มครองผู้ป่วย HIV แต่ไม่ได้คุ้มครองผู้สัมผัสเช้ือท่ีอยู่ในครอบครัวเดียวกัน ข้อพิจารณาคือ ในฐานะที่เราดูแลคนทุกคนเรา จะมีกระบวนการ อะไรทท่ี า ใหเ้ ราไมร่ สู้ กึ ผดิ และเราจะเดนิ หนา้ ตอ่ ดว้ ยวธิ ใี ด ในประเทศองั กฤษมกี ลไกในการตดั สนิ ซงึ่ อาจเปน็ กลไกในโรงพยาบาล กลไกภายนอก เชน่ การขอความเห็นจากองค์กรวิชาชีพ และสุดท้ายคือกลไกการขอความเห็นจากศาล
ข้อพิ จารณา
- เป็นไปได้หรือไม่ท่ีจะขอความเห็นศาล โดยให้ศาลบังคับผู้ป่วยให้เปิดเผยข้อมูล (ในประเด็นน้ีผู้เข้าร่วมประชุมได้เล่าว่า เคยมีคาตัดสิน ของศาลฎีกาว่าไม่สามารถกระทาได้ จึงยังคงต้องกลับมาให้ความสาคัญกับการทา counseling ให้ได้ผล)
- เคยมีการศึกษาหรือไม่ว่าผู้ป่วย HIV มีการแพร่เชื้อไปยังคู่สมรสและก่อให้เกิดความเสียหายมากน้อยเพียงใด เพื่อที่จะผลักดันให้เกิด การคุ้มครองผู้ใกล้ชิดที่เส่ียงต่อการติดเช้ือ
กรณีศึกษาที่ 3 กรณีอุบัติเหตุหมู่ มีผู้ป่วยจานวน 100 กว่าคน และมีผู้ป่วยฉุกเฉินท่ีต้องผ่าตัดด่วนภายในเวลา 30 นาที จานวน 10 คน ซึ่งไม่สามารถ refer ไปยังโรงพยาบาลอ่ืนๆ ได้ทัน แต่โรงพยาบาลมีห้องผ่าตัดจากัด และมีเลือดท่ีสารองไว้จากัดซึ่งต้องรอการตรวจทดสอบ สิ่งที่ต้อง พิจารณาคือ
    สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 133
 


















































































   131   132   133   134   135