Page 134 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 134
B2-202
19th HA National Forum
1) โรงพยาบาลมีหลักการในการเรียง case ผ่าตัดอย่างไร
2) โรงพยาบาลมีหลักการในการเลือก case ท่ีจะได้รับเลือดอย่างไร
3) ถ้าท่านเป็นผู้บริหาร ท่านจะตัดสินใจอย่างไร
ประเด็นแลกเปลี่ยนจากผู้เข้าร่วมประชุมมีความเห็นว่า
- ใช้หลักคิดในการเลือก case จากภูมิหลังของผู้ป่วยว่าหากรอดชีวิตผู้ป่วยรายใดจะมีโอกาสสร้างประโยชน์มากกว่า
- ควรมี commander และมีทีม เช่น ศัลยแพทย์ แพทย์ออร์โธปิดิกส์ และแพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน ร่วมกันตัดสินใจ
- เป้าหมาย คือ safety จึงควรหาทางเลือกอ่ืน เช่น การขอแพทย์จากโรงพยาบาลในเครือข่ายมาช่วยผ่าตัด การถอดบทเรียนจากกรณี
ศกึ ษาทงั้ 3 เรอื่ ง มขี อ้ สรปุ วา่ โรงพยาบาลควรพจิ ารณาถงึ โอกาสเกดิ ethical dilemma แลว้ เตรยี มการไวก้ อ่ น และตอ้ งมกี รรมการหากตดั สนิ ใจไมไ่ ด้
นพ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
กล่าวถึง ส่ิงที่โรงพยาบาลควารต่อยอดและควรปฏิบัติไว้ ดังน้ี
1 .มีทีมตัดสินใจที่หน้างาน โดยมีเกณฑ์/แนวทางที่ชัดเจน และต้องสื่อสารให้ชัดเจนถึงผู้ปฏิบัติ
2. หากทีมหน้างานตัดสินใจไม่ได้ ต้องมีกลไกในการให้คาปรึกษาท่ีทันเวลา เช่น ผู้อานวยการโรงพยาบาล หรือทีมกรรมการ/ผู้เช่ียวชาญ
ซึ่งต้องคาดการณ์ความเร่งด่วนในสถานการณ์ต่างๆ และองค์ประกอบของผู้เชี่ยวชาญสิ่งท่ีโรงพยาบาลควรทา 3. คาดการณ์และรวบรวมประสบการณ์ ethical dilemma ทั้งที่เกิดในโรงพยาบาลและที่อ่ืนๆ ให้มากท่ีสุด
4 .กาหนดแนวทางในการตัดสินใจไว้ล่วงหน้า เพื่อช่วยให้การตัดสินใจง่ายขึ้น
นพ.สุรชัย ปัญญาพฤทธิพ์ งศ์
หลักการประกอบการตัดสินใจ เกี่ยวกับ ethical ailemma
1. Medical Ethic
1) Patient Autonomy and Informed Decision การเคารพในเอกสิทธิ์แห่งบุคคลของผู้ป่วย
- ผู้ป่วยมีอิสระในการเลือกวิธีรักษา
- แพทย์บอกข้อมูลความเจ็บป่วย วิธีการรักษา ข้อดีข้อเสียของการรักษาแต่ละวิธี การพยากรณ์โรคที่ถูกต้องครบถ้วน
เพื่อให้ผู้ป่วยตัดสินใจเลือกวิธีการรักษาตนเอง
2) Beneficence การยึดถือประโยชน์ของผู้ป่วย
3) Non-maleficence (Do no harm)
4) Justice การใช้ทรัพยากรที่จากัดให้แก่ผู้ป่วยด้วยความยุติธรรมหรือเสมอภาค
2. Confidentiality and Human Dignity
1) แพทย์พึงรักษาความลับ ข้อมูลสุขภาพที่ผู้ป่วยไม่ต้องการเปิดเผย 2) การเคารพศักดิ์ศรีและคุณค่าความเป็นมนุษย์ของผู้ป่วย
3. หลักการทางกฎหมายและมาตรฐานวิชาชีพ : พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2550 ได้แก่
• มาตรา 7 : ข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล เป็นความลับส่วนบุคคล ผู้ใดจะนาไปเปิดเผยในประการที่น่าจะทาให้บุคคลนั้นเสียหายไม่ได้ เว้นแต่การเปิดเผยนั้นเป็นไปตามประสงค์ของบุคคลนั้นโดยตรง หรือมีกฎหมายเฉพาะบัญญัติให้ต้องเปิดเผย แต่ไม่ว่ากรณีใดๆ ผู้ใดจะอาศัยอานาจ หรือสิทธิตามกฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการหรือกฎหมายอื่น เพื่อขอเอกสารเกี่ยวกับข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคลที่ไม่ใช่ของตนไม่ได้
• มาตรา 8 : ในการบริการสุขภาพ บุคลากรด้านสาธารณสุข ต้องแจ้งข้อมูลด้านสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการ ให้ผู้รับบริการทราบ อยา่ งเพยี งพอทผี่ รู้ บั บรกิ ารจะใชป้ ระกอบการตดั สนิ ใจ ในการรบั หรอื ไมร่ บั บรกิ ารใด และในกรณที ผี่ รู้ บั บรกิ ารปฏเิ สธ ไมร่ บั บรกิ ารใด จะใหบ้ รกิ ารนนั้ มไิ ด้
ความในวรรคหนึ่งมิให้ใช้บังคับกับกรณีดังต่อไปน้ี
(1) ผู้รับบริการอยู่ในภาวะที่เสี่ยงอันตรายถึงชีวิต และมีความจาเป็นต้องให้ความช่วยเหลือเป็นการรีบด่วน
(2) ผรู้ บั บรกิ ารไมอ่ ยใู่ นฐานะทจี่ ะรบั ทราบขอ้ มลู ได้ และไมอ่ าจแจง้ ใหบ้ คุ คลซงึ่ เปน็ ทายาทโดยธรรมตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์
ผู้ปกครอง ผู้ปกครองดูแล ผู้พิทักษ์ หรือผู้อนุบาลของผู้รับบริการแล้วแต่กรณี รับทราบข้อมูลแทนในขณะนั้นได้
134 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)