Page 135 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 135
B2-202
19th HA National Forum
• มาตรา 10 : เมื่อมีกรณีที่จะมีผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนเกิดขึ้น หน่วยงานของรัฐที่มีข้อมูลดังกล่าว ต้องเปิดเผยข้อมูลนั้น และ วิธีป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพให้ประชาชนทราบและจัดหาข้อมูลให้โดยเร็ว
การเปิดเผยข้อมูลตามวรรคหนึ่ง ต้องไม่มีลักษณะเป็นการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลของบุคคลใดเป็นการเฉพาะ
• มาตรา 12 : บุคคลมีสิทธิทาหนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุขท่ีเป็นไปเพียงเพ่ือยึดการตายในวาระสุดท้าย ของชีวิตตน หรือเพื่อยุติการทรมานจากการเจ็บป่วยได้
การดาเนินการตามหนังสือแสดงเจตนาตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดในกฎกระทรวง
เมื่อผู้ประกอบวิชาชีพด้านสาธารณสุขได้ปฏิบัติตามเจตนาของบุคคลตามวรรคหนึ่งแล้ว มิให้ถือว่าการกระทานั้นเป็นความผิด และให้ พ้นจากความรับผิดชอบทั้งปวง
นพ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
ตัวอย่างการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายซึ่งเราต้องเผชิญกับ dilemma ว่าในการยุติการช่วยเหลือเพื่อยืดชีวิตผู้ป่วยเมื่อไหร่ ซึ่งตัดสินใจยาก สงิ่ ทคี่ วรคา นงึ ถงึ คอื เราเหน็ คณุ คา่ หรอื ไมว่ า่ ผปู้ ว่ ยควรมโี อกาสเสยี ชวี ติ อยา่ งสงบ การจดั การเชงิ รกุ คอื ชใี้ หค้ รอบครวั เหน็ ทางเลอื กทดี่ กี วา่ ทา ใหส้ งั คม และครอบครัวเข้าใจว่าผู้ป่วยจะเสียชีวิตอย่างสงบ เพื่อป้องกันไม่ไห้เราต้องเผชิญกับ dilemma ดังนั้น dilemma จึงมีโอกาสป้องกันได้ มิใช่แค่เรื่อง ต้องตัดสินใจ
แนวทางการตัดสินใจประเด็นทางจริยธรรมที่ยากลาบากในการตัดสินใจ
1. พิจารณา stakeholder ที่เกี่ยวข้องทั้งหมดว่าใครคือคนสาคัญ ท้ังทีมสหวิชาชีพที่ดูแลผู้ป่วย กลุ่มคน
ท่ีให้คาปรึกษาและมีดุลยพินิจที่จะช่วยตัดสินใจ รวมถึงผู้ป่วยและครอบครัว และพิจารณาว่าจะมีผลกระทบถึงใครหรือมุมมองของใคร ทั้งในปัจจุบันและอนาคต
2. ร่วมกันตัดสินใจเป็นทีมและพิจารณาถึงความซับซ้อนของปัญหา เช่น ในการตัดสินใจว่าจะให้ยา Original หรือจะให้ยา generic แพทย์ สามารถใช้ดุลยพินิจได้เลย แต่ถ้าเป็นกรณีเลือก case เข้าผ่าตัดก่อน-หลัง ต้องมีทีมช่วยตัดสินใจโดยใช้หลายมุมมองเพ่ือเป็นหลักประกันว่าเราจะ ปลอดภัยในภายหลัง
3. วิเคราะห์ประเด็นทางจริยธรรมท่ีเก่ียวข้องตามหลักจริยธรรม กฎหมาย และมาตรฐานวิชาชีพ เม่ือเกิด dilemma ต้องช่ังน้าหนักว่าจะ ใช้เกณฑ์ตัดสินใจอะไรเป็นเรื่องหลัก อะไรเป็นรอง
4. ระบปุ ระเดน็ ทางเลอื กวา่ มกี ที่ างเลอื ก โดยพจิ ารณาหลกั พนื้ ฐานทส่ี นบั สนนุ ทางเลอื กนนั้ ๆ และวเิ คราะหว์ า่ หลกั การใดสา คญั มากกวา่ กนั 5. วิเคราะห์ผลกระทบต่อผู้เกี่ยวข้องในแต่ละทางเลือก ทั้งสิ่งที่เป็นคุณค่าและส่ิงท่ีไม่พึงประสงค์
6. เลือกเวลาตัดสินใจท่ีเหมาะสมกับสถานการณ์ ต้องพิจารณาว่าเมื่อใดทุกฝ่ายพร้อมที่จะยอมรับข้อมูล ซึ่ง dilemma จะเปล่ียนไปตาม
กาลเวลา จึงต้องสร้างสิ่งแวดล้อมให้เกิดการยอมรับในสิ่งท่ีเราต้องการ
7. กาหนดผู้รับผิดชอบในการส่ือสารทางเลือกแก่ผู้เกี่ยวข้อง รวมท้ังเสนอ solution ให้ครอบครัวยอมรับทางเลือกที่ควรจะเป็น ซึ่งต้องใช้
การสื่อสารสองทางเพราะเป็นเรื่องละเอียดอ่อน
8. เตรียมพร้อมรับสถานการณ์ที่มีโอกาสเกิดข้ึนในการดาเนินการตามทางเลือก ซึ่งอาจเป็นสถานการณ์ท่ียากลาบาก
9. สรุปบทเรียนว่ามี dilemma อะไรเกิดข้ึนบ้าง และใช้หลักอะไรตัดสินใจ ซ่ึงเป็นความยากและมีความละเอียดอ่อน ต้องไม่ blame
กันละกัน เข้าใจกันและช่วยเหลือกัน
กลไกการบริหารจัดการ
1 .จัดลาดับตามความยากง่าย จัดทาข้อสรุปสาหรับการตัดสินใจในเร่ืองง่ายๆ ให้ทุกคนปฏิบัติตาม
2. จัดทาแนวทางการใช้ดุลยพินิจในเรื่องที่ต้องพิจารณาเฉพาะกรณี โดยกาหนดหลักการกว้างๆ เพื่อให้มั่นใจว่าทุกคร้ังที่จะตัดสินใจ อยู่บนพื้นฐานเดียวกัน
3. จัดให้มีกลไกการให้คาปรึกษาภายในองค์กรในเรื่องที่ผู้เก่ียวข้องไม่มั่นใจ การให้คาปรึกษาอาจมีหลายระดับชั้น เช่น ผู้อานวยการ โรงพยาบาล คณะกรรมการท่ีปรึกษาด้านจริยธรรม ซึ่งเน้นบทบาทในการให้คาปรึกษาเมื่อเผชิญกับ ethical dilemma มิใช่ทาหน้าที่ตัดสินเมื่อมี ปัญหาการละเมิดจริยธรรม
4. หาช่องทางปรึกษาผู้เชี่ยวชาญภายนอก เช่น องค์กรวิชาชีพ หรือผู้เชี่ยวชาญภายนอก ในเร่ืองที่ไม่สามารถสรุปได้ในองค์กร
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 135