Page 146 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 146
B4-202
19th HA National Forum
เครือ่ งมือคุณภาพสามารถจัดกลุ่มตามวัตถุประสงค์การใช้ ได้ 4 กลุ่ม คือ
1. กลุ่มเคร่ืองมือที่ใช้ในการพัฒนาคุณภาพทางคลินิก
2. กลุ่มเครื่องมือที่ใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพของทีมและคนทางาน 3. กลุ่มเคร่ืองมือที่ใช้ในการบริหารความเสี่ยง
4. กลุ่มเคร่ืองมือเกี่ยวกับการวางแผนและประเมินผล
1.กลุ่มเครอื่ งมือทีใ่ช้ในการพัฒนาคุณภาพทางคลินิก
เครื่องมือท่ีใช้ในการพัฒนาคุณภาพทางคลินิก มีหลายเคร่ืองมือ ท่ีกล่าวถึงคร้ังน้ี คือ Clinical Tracer / Clinical Quality Summary ซงึ่ มกั ถกู มองเปน็ งานเอกสาร และทา ใหผ้ ใู้ ชโ้ ดยเฉพาะทมี ทางคลนิ กิ มคี วามกงั วล สบั สน โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ การเขยี น Clinical Tracer และ Clinical Tracer Highlight (ปัจจุบันไม่แนะนาให้เรียก Clinical Tracer Highlight เน่ืองจากเป็นสิ่งเดียวกับ Clinical tracer ไม่จาเป็นต้องเรียกชื่อแตกต่าง ให้สับสน)
การตามรอย (Trace) มี 2 รูปแบบ คือ 1) การเข้าไปดูที่หน้างาน (go and see) ทาให้พบการปฏิบัติงานจริงเกี่ยวกับผู้ป่วยแต่ละราย จะช่วยให้สามารถระบุโอกาสพัฒนา เห็นการปฏิบัติงาน เห็นการเช่ือมต่อรวมถึง gaps ต่างๆ ของงาน นามาสู่การปรับปรุง 2) การตามรอย ในห้องประชุม คือ การตามกระบวนการพัฒนา และการตามรอยผลลัพธ์ (performance) ที่เช่ือมโยงกับกระบวนการ มักทาในกลุ่มผู้ป่วย มีผู้ป่วย หลายราย ทาให้มองเห็นภาพรวม เพื่อให้เกิดความสมบูรณ์รอบด้าน Tracer ต้องการทั้ง 2 ส่วน ประกอบกัน เพ่ือให้เห็นทั้งกระบวนการที่หน้างาน ซึ่งเป็นผลลัพธ์ที่เกิดกับผู้ป่วยเฉพาะราย และการทบทวนที่ห้องประชุมที่จะช่วยให้เห็นผลลัพธ์โดยภาพรวม
Clinical Quality Summary
Clinical Tracer ที่ถูกสรุปติดตามผลลัพธ์อย่างต่อเน่ือง จะกลายเป็น Clinical Quality Summary และเป็นเครื่องมือสาคัญในการส่ือสาร ระหว่างทีมปฏิบัติงานเกี่ยวกับเร่ืองราวการพัฒนากระบวนการดูแลผู้ป่วยกลุ่มนั้นๆ เพ่ือรายงาน สรุปและสื่อสารกันในทีมโดยใช้กรอบ 3P นามาสู่ การเรียนรู้ เพ่ือขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วย
การเขียน Clinical Tracer /Clinical Quality Summary ประกอบด้วย 3 ขัน้ ตอน คือ
1) กําาหนดเป้าหมายการพัฒนาทางคลินิก (Purpose)
การเขียน Clinical Quality Summary ควรเริ่มต้นที่การกาหนดเป้าหมาย (purpose ) ของการพัฒนา การแสดงเป้าหมายในการดูแล ผู้ป่วยเป็นการตอบคาถามที่ว่า เป้าหมายของการพัฒนาการดูแลผู้ป่วยเร่ืองนั้นคืออะไร ส่ิงที่ควรสื่อสารในการกาหนด purpose ของการเขียน Clinical Quality Summary คือ เรา “ต้องการให้ผู้ป่วยดีขึ้นอย่างไร” แทนการเขียนว่า “ต้องการพัฒนาอะไร” เพราะการบอกว่าต้องการพัฒนา อะไรเป็นเพียงการบอกถึงกระบวนการซึ่งอาจไม่ใช่คาตอบของเป้าหมายในการดูแลผู้ป่วย เช่น ตัวอย่างการเขียน Clinical Tracer ทางทันตกรรมที่ กาหนดเป้าหมายการพัฒนาว่า จะพัฒนาการวัด plaque index หากพิจารณาอย่างลึกซ้ึงจะพบว่าเป้าหมายท่ีแท้จริงของการพัฒนาเรื่องนี้ คือเพ่ือลด plaque ในเด็ก ดังน้ัน เมื่อเรากาหนด “เป้าหมายซึ่งเป็นส่ิงที่จะปรากฏขึ้นกับตัวผู้ป่วย” จะทาให้เกิดกระบวนการ/กิจกรรมต่างๆ ที่หลากหลายกว่าการระบุว่าต้องการพัฒนาอะไร นาไปสู่ความพยายามออกแบบกิจกรรมการสอน การวัดผล การติดตาม เมื่อต้ังเป้าหมายอย่างตรงจุด จะทาให้เราเห็นส่ิงที่เราสามารถนาไปปรับปรุงได้ชัดเจน
การแสดงปัจจัยการขับเคลื่อนเป้าหมายโดยใช้ Driver Diagram
Driver Diagram เป็นเคร่ืองมือที่กระตุ้นให้เกิดความคิดเชิงระบบเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย สามารถแสดงให้เห็นเป้าหมาย และปัจจัยที่ทาให้ สา เรจ็ ตามเปา้ หมาย ชว่ ยใหส้ ามารถกา หนดกจิ กรรมตา่ งๆ เพอื่ บรรลเุ ปา้ หมายไดค้ รอบคลมุ และชว่ ยใหม้ กี า ลงั ขบั เคลอื่ นการบรรลเุ ปา้ หมายไดอ้ ยา่ ง เป็นระบบ โดยกาหนดให้ผู้ใช้ระบุเป้าหมายแล้ววิเคราะห์ปัจจัยขับเคลื่อนจนถึงระดับ intervention/change idea ท่ีจะต้องเกิดขึ้น รวมถึงกาหนด ตัววัดในแต่ละระดับ การเขียน Driver Diagram อย่างง่ายท่ีสุดควรกาหนด driver 2 ชั้น คือ primary driver และ secondary driver และต้อง กาหนด intervention/ change idea ในขั้นสุดท้าย คาถามท่ีใช้ในการวิเคราะห์หา driver เช่น มีปัจจัยอะไรบ้างที่จะทาให้สาเร็จตามเป้าหมาย
146 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)