Page 16 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 16
A1-200
2) การ Respect เพื่อนร่วมงาน
th
19 HA National Forum
ยอมรับความสามารถของผู้อื่น ให้โอกาสโดยคานึงถึงความสามารถในอนาคต ให้อิสระในการตัดสินใจ ฝึกลดตัวตน ฟังความคิดเห็น ของผู้อ่ืน รับฟังและให้คุณค่ากับเสียงทุกเสียง แม้เสียงส่วนน้อยหรือเสียงผี ฝึกคิดในมุมมองของผู้อื่น ในประชาธิปไตยเชิงลึก (deep democracy) มีกระบวนการรับฟังเสียงทุกเสียง เรียกว่า Conflict Resolution โดยขั้นแรกต้องรับรู้ว่ามี Conflict เกิดขึ้น นาประเด็นขัดแย้งมาคุยกัน หาความเห็นร่วมในการพูดคุย แล้วแบ่งข้าง ผู้ท่ีสนับสนุนซ่ึงสามารถย้ายข้างไปมาในการสนับสนุนได้ เป็นกระบวนการที่มีประโยชน์มากช่วยสลาย ความยึดติดในข้อสรุปของตนเอง สุดท้ายจะได้ข้อสรุปใหม่ข้ึนมา
3) ความรู้สึกดีดีต่อกัน (mindfulness)
คือทรัพยากรสาคัญของทีม
5. การปรับปรุงกระบวนการอย่างต่อเนือ่ ง (continuous process improvement)
โดยใช้หลัก Process Management ในการทางานเป็นทีมให้มากข้ึน เร่ิมด้วยการ Zoom Out ดูกระบวนการ(flow) ตั้งแต่ต้นจนจบ เพื่อให้คนทางานเห็นกระบวนงานท้ังหมดและหาว่ามีคนทางานที่ไม่มีที่ยืนอยู่ใน Flow น้ีบ้างหรือไม่ ถ้ามีใส่เติมเข้าไป แล้ว Zoom In เพื่อระบุสิ่งท่ี ต้องทาให้สาเร็จให้บรรลุของแต่ละขั้นตอน (process requirement) แล้วนามาออกแบบกระบวนการ (process design) ท่ีดีที่จะนาไปสู่การบรรลุ Process Requirement และกาหนดตัวชี้วัดของกระบวนการ (process indicator) ท่ีเป็นประโยชน์ในการวัดผลสาเร็จการทางาน โดยที่ Process Requirement ที่ชัดเจนจะช่วยในการออกแบบกระบวนการทําางานที่มีประสิทธิภาพ
6. Management by Fact
เริ่มต้นจาก การแยกแยะ Fact และ Feeling ด้วยการฝึกใช้หมวก 6 สี โดยที่Feeling คือ ยามที่ใส่หมวกสีแดง บอกความรู้สึกของตนเอง ว่าชอบ ไม่ชอบ ดี ไม่ดี หมวกสีดา พูดถึงจุดด้อย อุปสรรค หมวกสีเหลือง คือการคิดถึงจุดเด่น โอกาส ส่ิงท่ีเป็นประโยชน์ Fact คือ ยามท่ีใส่หมวก สีขาว ต้องการข้อเท็จจริง ข้อมูลเบื้องต้นของส่ิงนั้นๆ การแปลความหมายของข้อมูลที่มีอยู่ด้วยการใช้เครื่องมือที่ทรงพลัง โดยการใช้ Control Chart เป็นเครื่องมือเพื่อการวิเคราะห์ เรียนรู้ และนําาเสนอ ดังตัวอย่างการใช้ Control Chart เป็นเครื่องมือเพื่อการเรียนรู้ในการควบคุมป้องกัน การติดเชื้อ VAP ท่ีแสดงให้เห็นว่าในการพัฒนาครั้งแรกโดยการทา VAP Bundle แล้วพบว่าอัตราการติดเชื้อ VAP ยังไม่ลดลง จึงได้พัฒนาต่อเนื่อง โดยใช้การ Feed Back การปฏิบัติตาม VAP Bundle หลังจากนั้นพบว่าอัตราการติดเชื้อ VAP ลดลงอย่างชัดเจน Control Chart จึงเป็นเครื่องมือ การเรียนรู้ที่ทรงพลังมากแสดงให้เห็นภาพ
การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง (CQI) เห็นวงจร PDSA ที่เกิดซ้าแล้วซ้าอีก ภาพๆ เดียวบอก ได้ทุกอย่าง บอกท้ังผลลัพธ์ Improvement และ Intervention ท่ีใส่ลงไป สถานพยาบาลสามารถใช้ Control Chart แสดงให้ผู้เยี่ยมสารวจเห็นความพยายามในการพัฒนาอย่างต่อเน่ืองได้
16 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)