Page 174 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 174
B1-203
19th HA National Forum
รศ.ดร.นพ.จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์
ที่ผ่านมามีการพัฒนา Value Based Healthcare ในรูปคณะอนุกรรมการปฏิรูประบบการเงิน การคลังของกระทรวงสาธารณสุข โดยมี การเชื่อมโยงยกระดับประสิทธิภาพ ประสิทธิผล นาไปสู่แผนปฏิรูประบบสาธารณสุขด้านการเงินการคลัง ซึ่งได้นาเสนอให้กับผู้บริหาร และรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงสาธารณสุขเห็นชอบเพ่ือดาเนินการต่อไปเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ในฐานะบุคลากรด้านสาธารณสุข จึงควรทาความเข้าใจความเช่ือมโยง ระหว่าง Value Based Healthcare กับการดูแลสุขภาพระดับปฐมภูมิ ซ่ึงเป็นทิศทางท่ีสาคัญตามรัฐธรรมนูญ
จากในอดีตประเทศไทยได้เคยเรียนเชิญ Michel E. Porter ปรมาจารย์ทางด้านกลยุทธ์ คิดเครื่องมือ Value Chain Analysis มานาเสนอ บทบาทแผนยุทธศาสตร์ของประเทศไทยนั้น ซ่ึงท่ีผ่านมาประเทศสหรัฐเคยมีปัญหาเรื่อง ประชาชนต้องรับภาระค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพท่ีสูงมาก เมื่อ เทียบกับการบริการท่ีได้รับนั้นมีคุณค่าเพียงใด โดยMichel E Porter ได้นาแนวคิด Value คือ ผลลัพธ์ความพึงพอใจของผู้ป่วย หารด้วยต้นทุนท่ีใช้
Porter นาเสนอในหลายยุค หลายสมัยแต่กลับไม่ได้รับความสนใจ จนกระท่ังในยุคประธานาธิบดีโอบามา จึงได้นาแนวคิดนี้เข้ามา ดาเนินการอีกครั้ง เกิดเป็นโมเดล Value Based Healthcare หรือ Obama Care จากประเด็นคาถามทาอย่างไรที่จะมีการดูแลสุขภาพโดยสามารถ เพ่ิมคุณค่า และลดต้นทุนไปพร้อมๆ กันได้นั้น Michel E Porter ได้นาเสนอหลายแนวคิด ซึ่งสรุปได้ดังน้ี
1. ทาอย่างไรให้เกิด Integrated Practice Units : IPU ของการดูแลผู้ป่วย ซึ่งแต่ละ IPU ต้องมีการเชื่อมโยงกันอย่างเป็นระบบ 2. เม่ือเกิด IPU แล้วต้องมีการวัด Outcome และการวัดต้นทุน
3. วิธีการจ่ายเงิน ควรจ่ายแบบเหมาจ่าย
4. ต้องมีการประสานกันระหว่างสถานพยาบาล คือ มีการส่งต่ออย่างเป็นระบบ
5. มีการขยายผลไปทั่วประเทศ
6. มี Information System ที่ชัดเจน มีการบูรณาการ
หลังจากการดาเนินการไประยะหนึ่งแล้ว พบว่ามีผู้กล่าวถึง เร่ือง Value Based Healthcare จานวนมาก และพยายามนาแนวคิดซ่ึง
มาจากภาคธุรกิจ เข้าสู่ด้านสุขภาพ นักวิชาการด้านการดูแลสุขภาพหลายท่านพยายามศึกษาถึงระบบสุขภาพว่ามี Value Based เกิดขึ้นหรือไม่ ในท่ีสุดจึงพบว่าการทา Value Based ควรคานึงถึง 4 ปัจจัย ได้แก่ 1. ต้องให้ความสนใจนโยบาย บริบทของสถาบันที่เก่ียวข้องของระบบสุขภาพ 2. ตอ้ งมกี ารวดั Outcome และวดั ตน้ ทนุ 3. ตอ้ งมกี ารบรู ณาการโดยคา นงึ ถงึ ผปู้ ว่ ยเปน็ ศนู ยก์ ลาง 4. มกี ารจา่ ยเพอื่ สง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ Outcome Based ซ่ึงหากเทียบกับประเทศไทย พบว่ามีการดาเนินการอย่างเป็นระบบอยู่แล้ว แต่ไม่ได้ถูกกล่าวถึงมากนัก
174 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)