Page 176 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 176
B1-203
19th HA National Forum
นพ.กิตตินันท์ อนรรฆมณี
ที่ผ่านมาพบว่าเรื่อง Value Based Healthcare มีการนาเสนอในประเทศไทยมาหลายปีแล้ว แต่ส่วนใหญ่เป็นการพูดกันในทางทฤษฎี ในปีนี้ สรพ.จึงพยายามจะผลักดันให้มีการนา Value based Healthcare มาทดลองปฏิบัติจริง
จากแนวคดิ Value Based Healthcare ของ Michel E Porter คณุ คา่ ของงานบรกิ ารทเี่ กดิ ขนึ้ ตอ้ งประเมนิ จากผลลพั ธท์ เี่ กดิ ขน้ึ ในมมุ มอง ของผู้ป่วย หารด้วยต้นทุนที่เกิดข้ึน ซึ่งมีคาที่ควรทาความเข้าใจเพิ่มเติม เพื่อนามาสู่การประยุกต์ใช้จริงในโรงพยาบาลในประเทศไทย คือ
1. Integrated Practice Unit : IPU
มีการต้ังหน่วยบริการร่วมซึ่งคานึงถึงความสะดวกของผู้รับบริการ อย่างสมดุลกับความสะดวกของผู้ให้บริการ รูปแบบ IPU ในโรงพยาบาล ที่น่าจะเป็นไปได้ ได้แก่
• การจัดบริการในลักษณะ one stop service เพื่อลดการส่งต่อข้ามแผนก ลดการท่ีผู้ป่วยต้องเดินกลับไปกลับมา และลดการที่ผู้ป่วย ต้องมาโรงพยาบาลติดกันหลายวันเพราะต่างแผนกก็ต่างนัดผู้ป่วยโดยไม่สัมพันธ์กัน นอกจากน้ี การตั้ง IPU จะทาให้มีปริมาณผู้รับบริการที่มาก เพียงพอที่ผู้ให้บริการจะสั่งสมความเชี่ยวชาญ และเกิดความคุ้มค่าในเชิงเศรษฐศาสตร์ (Economy of Scale)
• การจัดทาและวิเคราะห์ Care delivery Processes โดยนา Lean มาช่วยในการวิเคราะห์ ซึ่งจะส่งผลให้บริการของ IPU มีประสิทธิภาพ
มากขึ้น
• การประเมิน Patient Experience เพื่อหาโอกาสในการพัฒนางานบริการในมุมมองของผู้ป่วย
• การเชอ่ื มโยงขอ้ มลู ชองทกุ งานบรกิ าร เพอื่ นา ไปสกู่ ารเพมิ่ สะดวกและความรสู้ กึ ทดี่ ขี องผปู้ ว่ ย ตลอดจนใชเ้ พอื่ การตดิ ตามประเมนิ ผลลพั ธ์
ทเ่ี กดิ ขนึ้ ขอ้ มลู เหลา่ นี้ ไดแ้ ก่ ประวตั กิ ารรกั ษาและการนดั ตรวจของทกุ แผนก ขอ้ มลู จากการเยยี่ มบา้ น ตวั ชวี้ ดั ในเชงิ กระบวนการของทกุ จดุ ทใี่ หบ้ รกิ าร
2. การวัดผลลัพธ์ ตามแนวคิดของ Porter ควรมีการวัดผลลัพธ์ใน 3 มิติ คือ
• มิติที่ 1 ผลลัพธ์ที่เกิดจากการรักษาพยาบาลโดยตรง ได้แก่ อัตราตาย อัตราความพิการ อัตราการติดเชื้อ
• มิติท่ี 2 ผลลัพธ์ในช่วงการฟ้ืนฟูสภาพ ได้แก่ เวลาที่ใช้จนสมรรถนะได้รับการฟื้นฟูถึงระดับที่ต้องการ, Re-Admission rate, อัตราการเกิด Complication ในช่วงฟื้นฟูสภาพ, ระดับคุณภาพชีวิตหลังผ่านการดูแลรักษาและฟื้นฟูสภาพไประยะหนึ่ง ตัวอย่างของการวัดในมิติที่ 2 ได้แก่ Patient-Reported Health Status โดยเครื่องมือ KOOS (Knee Injury and Osteoarthritis Outcome Score), EQ-5D-5L, อัตราการเกิด ข้อเข่าติดหลังการผ่าตัดข้อเข่าแล้ว 3 เดือน
• มิติที่ 3 สถานะสุขภาพในระยะยาว ได้แก่ อัตรารอดชีวิตท่ี 5 ปี, อัตราการเกิดอาการซ้า
3. การวัดต้นทุน
Total Cost = Direct Cost + Indirect Cost
Direct Cost ได้แก่ ค่าบุคลากร ค่าอุปกรณ์ท่ีใช้ ค่าใช้จ่ายอื่นๆ ในการให้บริการ ค่าเส่ือมราคา Indirect Cost ได้แก่ ค่าใช้จ่ายของระบบสนับสนุนการทางาน เช่น การบัญชี การเงิน พัสดุ สารสนเทศ
4. การวิเคราะห์และแสดงผลลัพธ์
รูปแบบการนาเสนอข้อมูลของผลลัพธ์ท้ังในด้านการดูแลรักษา และด้านต้นทุน มีได้หลายรูปแบบ เช่น
• ผลลัพธ์แบบสะสมข้อมูลจากผลลัพธ์ของผู้ป่วยแต่ละราย
• Radar Diagram ท่ีแสดงผลลัพธ์ในมิติต่างๆ พร้อมกัน
• การวเิ คราะหผ์ ลลพั ธจ์ ะไดป้ ระโยชนม์ ากขนึ้ เมอ่ื มกี ารเปรยี บเทยี บผลลพั ธร์ ะหวา่ งหนว่ ยงาน เพราะจะทา ใหเ้ หน็ โอกาสพฒั นาไดม้ ากกวา่
การวิเคราะห์แต่ผลลัพธ์ของหน่วยงานตนเอง
• ผลลัพธ์ท่ีไม่ดี อาจเกิดจาก input ไม่ดี (เช่น มีปัญหาสมรรถนะและกาลังคน ส่ิงของไม่ได้มาตรฐาน) หรือเกิดจากกระบวนการไม่ดี
(เช่น กระบวนการมีประสิทธิภาพต่า บุคลากรไม่ทาตามกระบวนการท่ีกาหนด)
• ค่าใช้จ่ายที่สูง อาจเกิดจาก ค่าตอบแทนบุคลากรสูง หรือค่าวัสดุอุปกรณ์มีราคาสูง
176 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)