Page 192 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 192

C1-203
19th HA National Forum
 บทส่งท้าย
จากการนาเสนอของท้ัง 3 Startup พบว่ามีจุดเร่ิมต้นท่ีเหมือนกันคือ “การอยากจะทาอะไรสักอย่างที่จะช่วยให้สังคมไทยดีข้ึน ให้เกิด การเปลี่ยนแปลงด้านสุขภาพในทางท่ีดีขึ้น” และทั้ง 3 Startup ได้ใช้ประสบการณ์ ความรู้ ความสนใจ ความถนัดของตนเอง สู่การออกแบบและ พฒั นา เหน็ การเปลย่ี นแปลงทเี่ พมิ่ จากการทา งานแบบ “สหวชิ าชพี ”เปน็ การทา งานแบบ “สหวทิ ยาการ” คอื การนา ศาสตรค์ วามรเู้ กย่ี วกบั การแพทย์ และสุขภาพไปรวมกับศาสตร์อ่ืนๆ ซ่ึง Startup ท้ัง 3 Platform เป็นตัวอย่างของการนาศาสตร์ด้านการสุขภาพรวมกับศาสตร์ด้านดิจิทัล
นพ.คณพล ภูมิรัตนประพิณ
ใ ห ข้ อ้ ค ดิ ใ น ก า ร เ ร มิ ่ ต น้ พ ฒั น า ส ง่ ิ ต า่ ง ๆ ไ ม ค่ ว ร เ ร ม่ ิ ต น้ ใ ห ญ ม่ า ก ไ ม ต่ อ้ ง ร อ ท กุ อ ย า่ ง พ ร อ้ ม แ ล ะ ค ว ร ศ กึ ษ า ข อ้ ม ลู จ า ก ค น ห น า้ ง า น “ ค น ห น า้ ง า น ค อื คนทร่ี คู้ วามตอ้ งการดที สี่ ดุ ” ลองทา ขนาดเลก็ ๆ ใหเ้ กดิ ผลกอ่ น จงึ ขยายใหใ้ หญข่ นึ้ ตวั อยา่ งทที่ า Health at Home เรมิ่ ตน้ จากการทดสอบสมมตุ ฐิ าน ก่อนว่าผู้ดูแลจะใช้ Application เป็นหรือไม่ โดยลองให้ส่งข้อมูลผ่าน google form นาข้อมูลท่ีได้มาทาเป็นกราฟส่งให้ทางครอบครัวและให้แพทย์ เพอื่ จะทดสอบวา่ ผดู้ แู ลจะสามารถใช้ Application ไดจ้ รงิ และขอ้ มลู ทเี่ กบ็ บนั ทกึ มปี ระโยชน์ เมอื่ ใชไ้ ดจ้ รงิ แลว้ จงึ คอ่ ยนา มาพฒั นาเขยี นเปน็ Platform
พญ.ศกุนี นิรันดร์วิชย
ฝากประเด็น Telemedicine บุคลากรสาธารณสุข จะมองเห็นความเส่ียงก่อน โดยเฉพาะเร่ืองการฟ้องร้อง ซึ่งจริงๆ แล้วอยากให้มอง ในประเด็นประโยชน์หรือผลดีที่เกิดกับผู้ใช้งานและกับคนไข้ด้วย เช่นในผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงที่เดินทางมา โรงพยาบาลไม่ได้ หรือคนท่ีอยู่ไกล ขาดโอกาสในการเข้าถึงแพทย์เฉพาะทาง Telemedicine มีประโยชน์ คือ ทาให้คนไข้เข้าถึงข้อมูลด้นสุขภาพได้อย่างถูกต้องและเช่ือถือได้ ดังน้ัน จึงอยากให้มองทั้ง 2 ด้าน สาหรับการคุ้มครองแพทย์ผู้ให้คาปรึกษา ในเบื้องต้น โปรแกรมได้ออกแบบให้มี Term of agreement ให้ผู้รับบริการ อ่านก่อนทุกครั้ง หากยินดีจึงเข้ามาในระบบ และกาลังพัฒนาเพิ่มให้ Application สามารถออกใบ refer ได้ เพื่อให้ผู้ป่วยนาใบ refer ไปพบแพทย์ เพอ่ื Investigation ตอ่ ได้ หากเปน็ ไปไดอ้ ยากใหภ้ าครฐั เขา้ มาชว่ ยเหลอื ดา้ น พรบ.หรอื ขอ้ กา หนดเชงิ นโยบาย ทจี่ ะสามารถสนบั สนนุ ให้ Telemedicine เข้ามาช่วยตอบโจทย์และแก้ปัญหาในปัจจุบันได้ และหากในอนาคตภาครัฐเข้า Support เพ่ิมเรื่อง ประกันสุขภาพ เชื่อว่าจะสามารถพัฒนาให้ผู้ป่วย UC และประกันสังคมเข้ามาใช้งาน Application ได้เช่นกัน
ธีระ กนกกาญจนรัตน์
ฝากประเด็นเพิ่มเติม “หากทุกฝ่ายมองท่ีตัวผู้ป่วย เจตนาเพ่ือยกระดับการดูแลท่ีดีข้ึน” Startup จะเป็นส่วนหน่ึงท่ีสามารถช่วยให้เกิด Transform ได้ ช่วยให้ปิดช่องโหว่ได้ และเทคโนโลยีจะช่วยทาให้เกิดประสิทธิภาพเพิ่มข้ึนได้ สาหรับการพัฒนาเรื่องใดๆ ขอให้ศึกษาความต้องการ จากคนหน้างาน และมองหาเทคโนโลยีที่เหมาะเข้ามาประยุกต์ใช้ โดยสามารถค้นหาเทคโนโลยีเพ่ือนามาพัฒนาหรือสอบถามเพ่ิมเติมได้ท่ีสมาคม เฮลท์เทคแห่งประเทศไทย
ข้อค้นพบใหม่ทีไ่ด้จากเรือ่ง
การพัฒนา Healthcare Application ท่ีมีการตั้งโจทย์ความต้องการ พัฒนาควบคู่โดยทีมผู้เชี่ยวชาญด้านการดูแล และด้านเทคโนโลยี ออกแบบตามความต้องการของผู้ใช้งาน ให้ใช้ง่าย สะดวก ตอบโจทย์ความต้องการทั้งผู้ให้และผู้รับบริการ ทาให้ได้รับความนิยมและมีการขยายผล ให้ใช้แพร่หลาย เกิดประโยชน์ส่งผลให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และส่งผลกระทบต่อระบบสุขภาพในวงกว้าง
ปจัจัยแห่งความสาเร็จ
การกา หนดเปา้ หมายทชี่ ดั เจน การเรมิ่ ทดลองพฒั นาจากจดุ เลก็ ๆ ใหไ้ ดผ้ ลจงึ นา ไปพฒั นาตอ่ ยอด การมสี ว่ นรว่ มของผใู้ ชง้ านในการออกแบบ สามารถตอบโจทย์การใช้งานและนาไปใช้ได้จริง รวมถึงมีการพัฒนาโดยทีมทางานที่มีความเชี่ยวชาญแต่ละด้าน ในรูปแบบสหวิทยาการ
 192 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)
 



















































































   190   191   192   193   194