Page 194 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 194

C2-203
19th HA National Forum
  ธัญญา วรรณพฤกษ์
หัวใจของ Disease Management ประกอบด้วย 1) ทาอย่างไรให้ประชากรมีวิถีการดาเนินชีวิตท่ีดีกับตัวเขาเอง (Empowerment) 2) มีมุมมองของ Prevention 3) ไม่สามารถทาได้โดยใครคนใดคนหนึ่งต้องอาศัยทีม ซ่ึงในวันนี้ โรงพยาบาลเทพธารินทร์ มีโอกาส ได้มาเล่าถึง Value of Disease Management : DM Prevention in Diabetic (Private) Tertiary Care Setting ของโรงพยาบาลเทพธารินทร์ ว่าทาอะไรบ้าง (คาที่ขีดเส้นไต้ ดูจะไม่ไปด้วยกัน เพราะ ในระดับตติยภูมิ โอกาสจะมาทาเรื่อง Prevention มีน้อย ส่วนใหญ่เน้นการรักษาท่ีเชี่ยวชาญ และ Private ส่วนใหญ่เน้นกาไร แต่เพราะเหตุใด โรงพยาบาลเทพธารินทร์จึงหันมาทา Prevention)
ศ.นพ.เทพ หิมะทองคา
มุมมองการ Prevention ของการเกิดโรคเบาหวาน :
ต้องทาให้ประชาชนเข้าใจหันมาปรับเปล่ียนวิถีการใช้ชีวิต ให้มีการออกกาลังกายและรับประทานอาหารท่ีถูกต้อง “ส่ิงที่ยากที่สุด คือ การเปล่ียนมุมมองของแพทย์” เดิมแพทย์ตรวจ วินิจฉัย รักษา แต่หากเราต้องการท่ีจะป้องกันโรค เราต้องเปล่ียนมาทาการแพทย์เชิงรุก ส่ิงสําาคัญ ของการแพทย์เชิงรุก คือการค้นหาคนท่ีเสี่ยงต่อการเป็นโรค นาสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (ต้องเปลี่ยนที่ใจของเขาเหล่านั้น ให้เขาทาตามเรา เร่ืองการรับประทานอาหาร และการออกกาลังกาย) ซึ่งไม่ใช่เร่ืองง่าย การจะทาได้ต้องอาศัย ทีมสหสาขาวิชาชีพ
ปัจจัยของการทางานสหสาขาวิชาชีพ ในการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ประกอบด้วย
1) เวลา แพทย์มีเวลาน้อย ดังนั้นเราต้องการคนท่ีเข้าใจเช่นเดียวกับแพทย์ แต่ว่าสามารถให้เวลากับคนไข้มากกว่าแพทย์ “Diabetes Educator” ซ่ึงต้องให้แพทย์เปิดใจยอมรับ Diabetes Educator (ประเด็นน้ีต้องใช้เวลาสร้างการยอมรับ) 2) การวางแผนการดูแลร่วมกัน โดยใช้ แนวทางการดูแลเบาหวานร่วมกัน 3) การดูแลเร่ืองเท้า ศูนย์เบาหวานต้องทาให้คนไข้ที่ต้องตัดขา ไม่ต้องตัดได้ 4) แสวงหาความรู้ 5) งานวิจัย
     194   สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)

























































































   192   193   194   195   196