Page 196 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 196
C2-203
19th HA National Forum
Primary Prevention & Secondary Prevention @ Theptarin Hospital :
ทโี่ รงพยาบาลเทพธารนิ ทร์ มกี ารกา หนด Package เบาหวานโดยใหผ้ ปู้ ว่ ยทม่ี าครง้ั แรกสามารถเจาะเลอื ดตรวจไดเ้ ลยโดยไมต่ อ้ งรอคา สงั่ แพทย์ ซ่ึงบุคลากรของโรงพยาบาลทุกคนรู้จัก Package นี้ ดังน้ันเม่ือผู้ป่วยมาท่ีแผนกต้อนรับ เจ้าหน้าท่ีสามารถให้คาแนะนาและให้บริการ Package นี้ได้ นอกจากนี้ได้จัดให้มีกิจกรรมด้าน Prevention อ่ืนๆ โดยมีการออกแบบการคัดกรองเบาหวานในผู้มารับบริการอย่างเป็นระบบ เช่น การประเมินความเส่ียงในผู้ป่วยยังไม่เป็นโรคเบาหวาน จะประเมินความเสี่ยงโอกาสการเกิดโรคเบาหวาน (ประเมินโดยใช้แบบประเมิน Thai DM risk score) หากประเมินแล้วพบว่ามีคะแนนตั้งแต่ 6 คะแนนขึ้นไป เจ้าหน้าท่ีจะเจาะเลือดจากปลายน้ิวตรวจน้าตาลเพิ่มเติม (มีนโยบายเจาะให้ฟรี) หากพบคา่ นา้ ตาลปลายนวิ้ ผดิ ปกตจิ ะทา การนดั ผปู้ ว่ ยเพอ่ื ตรวจยนื ยนั เบาหวานระยะแรกดว้ ยการตรวจ OGTT เพม่ิ เตมิ (Glucose ทใ่ี ชฝ้ า่ ยเภสชั กรรม ของโรงพยาบาลพฒั นาสตู รผสมขนึ้ เองซง่ึ มรี สชาตดิ ี ดมื่ งา่ ย) จากการประเมนิ ความเสยี่ งดงั กลา่ วขา้ งตน้ ชว่ ยใหส้ ามารถ Early detection ได้ ซงึ่ จาก ผลการคัดกรองในปี พ.ศ. 2559 -2560 พบกลุ่ม High Risk สูงถึงร้อยละ 40 และส่งต่อผู้ป่วยให้ Case manager ที่เป็นนักกาหนดอาหารดูแลต่อไป
สําาหรับการประเมินความเสี่ยงในผู้ป่วยที่เป็นเบาหวานแล้ว จะมีการประเมินความเสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจ เพิ่มเติมให้ผู้ป่วยทุกราย นอกจากที่กล่าวมาแล้ว ที่เทพธารินทร์ ยังมีกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพอ่ืนๆ เช่น ทีมทูตสุขภาพ นาออกกาลังกาย ยืดเหยียดกล้ามเนื้อ ขณะที่ผู้ป่วยนั่งรอพบแพทย์ท่ี OPD และ โรงเรียนเบาหวานเทพธารินทร์ สอนให้ผู้ป่วยและครอบครัวได้เรียนรู้เร่ืองของอาหาร การดูแลตนเองและ
การดูแลผู้ป่วย สนใจศึกษาเพิ่มเติมได้ท่ี http://www.theptarin.com/
ธัญญา วรรณพฤกษ์
Lifestyle Intervention Center in Theptarin Hospital :
เทพธารินทร์มีแนวคิดในการพัฒนาตนเองให้เป็น Lifestyle Intervention Center หรือท่ีเรียกว่า “3 อ. บวก ย.ยา” โดยมีเป้าหมายคือ การท่ีผู้มาใช้บริการหรือมาเยี่ยมเยือน จะไม่กลับบ้านไปพร้อมกับ ย.ยา เท่านั้น แต่จะพกพา 3 อ. ไม่ว่าจะเป็น อ.อารมณ์แจ่มใส เกิดความอยากดูแล สขุ ภาพตนเองและคนรอบขา้ ง ความรกู้ ารดแู ลตนเองดว้ ย อ.อาหาร และวธิ กี าร อ.ออกกา ลงั กาย ทเ่ี หมาะสา หรบั ตนเอง สามารถทา ไดท้ บ่ี า้ นกลบั ไปดว้ ย
การปรับเปลี่ยนวิถีการดาเนินชีวิตต้องเริ่มต้นจากการมีทัศนคติท่ีพร้อมจะพัฒนาสุขภาพของตนเอง ตามด้วยการเก็บเกี่ยวข้อมูลความรู้ ที่ถูกต้อง ค่อยๆ ทดลองทา ค่อยๆ ปรับจนพบส่ิงที่ชอบ ทาได้ กลายเป็นนิสัยท่ีดีต่อสุขภาพ และสุดท้ายคือการบอกต่อผลลัพธ์ที่ได้สัมผัส ชักชวนและ ให้กาลังใจผู้อ่ืนเพื่อก้าวข้ามความเคยชินต่างๆ ที่กาลังทาลายสุขภาพ
เมื่อปี พ.ศ. 2545 มีงานวิจัยว่า “เบาหวานไม่เป็นก็ได้” ดังนั้นจึงต้องปรับจากตั้งรับ เป็นเชิงรุก “ทาอย่างไรจะป้องกันไม่ให้คน เป็นเบาหวาน” โดยเร่ิมต้นท่ีการปรับเปล่ียน Mindset ซ่ึงการเปลี่ยนคร้ังน้ี เหมือนการทางานกลับหัว ทุกอย่างกลับข้างกันหมด
ในการปรับเปลี่ยน Mindset ของบุคลากร ส่ิงสาคัญอันดับแรกคือ ผู้นา ผู้นาขยันพูด พูดทุกท่ีๆ มีโอกาส (Non-stop talking in all opportunities.) สิ่งสาคัญรองลงมาคือ สถานท่ี มีความผสมผสานลงตัวทั้ง Medical และ non-Medical (สวนผักออร์กานิค ห้องพระ ห้อง โยคะ ศูนย์ออกกาลังกาย การจัดสถานที่ให้เอื้อต่อการเรียนรู้และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เป็นต้น) และ ทีมบุคลากรเข้ามามีบทบาท มีส่วนร่วม ในการทา กจิ กรรมตา่ งๆ หรอื เปน็ ผนู้ า ในกจิ กรรมตา่ งๆ เชน่ การนา ฝกึ โยคะ มบี คุ ลากรทม่ี าจากแผนกตอ้ นรบั หรอื ทมี เลขาฯเขา้ มารว่ มเปน็ ผนู้ า เปน็ ตน้ บุคลากรที่เข้ามามีบทบาทร่วม รู้สึกมีพลังเพิ่มขึ้น ภูมิใจที่ได้เป็นส่วนหนึ่งในการทากิจกรรมขององค์กร
196 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)