Page 197 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 197
C2-203
19th HA National Forum
สรุปสิ่งท่ีเกิดการเรียนรู้ พัฒนาและเติบโตต่อเน่ืองยาวนาน 33 ปีของโรงพยาบาลเทพธารินทร์ เกิด Model ของการพัฒนาการดูแลผู้ป่วย เบาหวาน 4 model ดังน้ี 1) Multidisciplinary team 2) Behavior Modification Activities 3) Diabetic Foot Care 4) Lifestyle for Disease Prevention
การขยายงานของโรงพยาบาลเทพธารนิ ทร์ ขยายงานโดยการทา งานรว่ มกบั เครอื ขา่ ย “สงิ่ สา คญั ทสี่ ดุ คอื การทา งานรว่ มกบั คนทตี่ า่ งกบั เรา” องคก์ รทเี่ ทพธารนิ ทรท์ า งานรว่ มดว้ ยไดแ้ ก่ มหาวทิ ยาลยั สมาคมวชิ าชพี องคก์ รสาธารณประโยชน์ อตุ สาหกรรมธรุ กจิ เอกชน และกระทรวงสาธารณสขุ สิ่งที่เกิดขึ้นและเร่ิมขยายผลโดยมีจุดเร่ิมต้นจากเทพธารินทร์ ได้แก่ 1) Diabetes Educator 2) Dietitian 3) Foot Care Specialist 4) Diabetes camp model expansion (รว่ มกบั สปสช.จดั คา่ ยเบาหวาน สามารถขยายผลและสนบั สนนุ งบประมาณสรา้ งคา่ ยเบาหวานทวั่ ประเทศ) 5) Foot care model expansion 6)ร่วมมือกับกรมควบคุมโรคและกระทรวงศึกษาธิการจัดอบรมผู้บริหารสถานศึกษาให้เข้าใจเรื่องการป้องกันโรค
เน้นการปรับเปล่ียนพฤติกรรม เพ่ือนาไปถ่ายทอดสอนเด็กนักเรียนต่อไป
บทส่งท้าย
ศ.นพ.เทพ หิมะทองคา :
“คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม” 3 คาน้ีโดนใจมาก เพราะตรงกับท่ีเทพธารินทร์กาลังทาอยู่ เมื่อเราทาเป็นตัวอย่างแล้ว เราต้องมีจิตสาธารณะ และนาไปขยายผลสู่สังคม และอีกหนึ่งคุณค่าที่เกิดข้ึนจากการทาเรื่อง Prevention คือการลดค่าใช้จ่าย “เพราะการทา prevention ใช้ค่าใช้จ่าย น้อยท่ีสุด” นอกจากนี้ด้านการรักษาเราพยายามลดการใช้เครื่องมือให้น้อยท่ีสุด แต่เพิ่มการใช้สมองของแพทย์ ช่วยลดค่าใช้จ่าย
ดา้ นคณุ คา่ ตอ่ สาธารณะ สนบั สนนุ ใหแ้ พทยท์ มี่ ปี ระสบการณอ์ อกไปบรรยาย ไปชว่ ยงานวจิ ยั สง่ ผลใหม้ ผี ลงานวจิ ยั สสู่ าธารณะกวา่ 30 เรอ่ื ง รวมถงึ การเขา้ ไปใหค้ า แนะนา ในชมุ ชน โดยสรปุ คณุ คา่ ทเี่ กดิ ขนึ้ 2 ประเดน็ ใหญค่ อื ลดคา่ ใชจ้ า่ ย และคณุ ภาพชวี ติ ทดี่ ขี นึ้ ของคนไขแ้ ละสงั คมในภาพรวม
หรรษมน ประสาทแก้ว
ถ้าเราจะทา Primary Prevention ต้องเริ่มจากเด็ก เมื่อโตเป็นผู้ใหญ่ท่ีมีคุณค่าท้ังต่อตนเองและผู้อ่ืน พร้อมที่จะไปช่วยผู้อ่ืนได้ ตัวอย่างที่ เทพธารินทร์ทา ตั้งช่ือกลุ่มนี้ว่า “ทูตสุขภาพ” บุคลากรกลุ่มนี้มาจากแผนกต่างๆ ทุกระดับ เป็นจิตอาสาเข้ามาทากิจกรรมคุณภาพด้านสุขภาพต่างๆ เช่น การนาออกกาลังกาย ยืดเหยียด บุคลากรกลุ่มนี้เข้าใจเป้าหมายขององค์กร ทาตัวเองให้เป็นตัวอย่างก่อน สิ่งเหล่านี้จึงจะถ่ายทอดไปสู่คนไข้ได้ เกิดคุณค่าในตนเองที่สามารถช่วยเหลือผู้อื่นได้ บุคลากรในองค์กรเกิดการเปลี่ยนแปลงในตนเองและหันมาดูแลสุขภาพ “คุณจะดูแลสุขภาพ ของคนอื่น คุณต้องดูแลสุขภาพคุณก่อน”
ข้อค้นพบใหม่ทีไ่ด้จากเรือ่ง
1. การกาหนด Theptarin Diabetes Staging : TDS ทาให้การประสาน การวางแผนการดูแลในทีมสหสาขาวิชาชีพดาเนินการได้ง่ายขึ้น มีการกาหนดเป้าหมายในการดูแลผู้ป่วยแต่ละคนได้ชัดเจน และสามารถบริหารจัดการด้านเวลาได้
2. การออกแบบ และการคัดกรองเบาหวานให้กับผู้มารับบริการอย่างเป็นระบบ สามารถเพ่ิมความครอบคลุมในการคัดกรอง และ Early detection ในกลุ่ม High risk และนาเข้าสู่กระบวนการดูแลให้กลุ่มเส่ียง ไม่ป่วยเป็นเบาหวา
3. Lifestyle Intervention Center in Theptarin Hospital “3อ. บวก ย.ยา”และการจัดสร้างอาคาร Lifestyle Building เพ่ือบรรจุ แนวคิด กิจกรรม และบริการ เพื่อสุขภาพที่ดีของผู้มาเย่ียมเยือน
ปจัจัยแห่งความสาเร็จ
1. ผู้นา มีวิสัยทัศน์ กาหนดเป้าหมายและนโยบายชัดเจน สื่อสาร กับบุคลากรในทุกโอกาส (Non-stop talking in all opportunities.)
2. บุคลากรในองค์กรมีอิสระในการคิดสร้างสรรค์และได้รับการสนับสนุนจากผู้บริหาร (Freedom and full support in creativity) บุคลากรมี Engagement
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 197