Page 195 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 195

C2-203
19th HA National Forum
 การประเมินผลความสาเร็จของการดูแลผู้ป่วยเบาหวานของเทพธารินทร์ :
การประเมินผลว่าการดูแลดีหรือไม่นั้น ประเมินผลตาม Theptarin Diabetes Staging : TDS ของผู้ป่วยเบาหวาน การกาหนด Staging ช่วยให้สามารถบริหารจัดการได้ว่า ในแต่ละ Stage นั้น วิชาชีพใดที่จะเข้าไปดูแลบ้าง ดังนี้
เป้าหมายการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน
เมื่อพบผู้ป่วยเบาหวานที่ Stage ใด เป้าหมายคือให้คงอยู่ที่ Stage นั้น หรือถอยหลังกลับได้ ดังน้ันหากเป็นไปได้จึงอยากพบผู้ป่วยต้ังแต่ Stage 1 (Prediabetes) และดูแลให้อยู่เพียง stage 1 เท่านั้น การวัดผลงานจึงวัดท่ีความสามารถของดูแลท่ีทาให้ Staging คนไข้อยู่ระดับเดิม หรือถอยหลังกลับมาได้มากน้อยเท่าใด
หรรษมน ประสาทแก้ว
การกาหนด Staging ผู้ป่วยเบาหวาน :
ผู้ป่วยเบาหวานแต่ละคนไม่เหมือนกัน ดังนั้นการดูแลและให้ความรู้จึงไม่เหมือนกันเช่นเดียวกัน ในการดูแลผู้ป่วยเบาหวานท่ีเทพธารินทร์ ใช้ Theptarin Diabetes Staging : TDS เป็นแผนท่ีในการทางานและใช้ในการวางแผนการดูแลผู้ป่วย ส่งผลให้ทางานง่ายขึ้น เพราะสามารถ กาหนดเป้าหมายและกิจกรรมในการดูแลผู้ป่วยแต่ละ stage ได้ชัดเจน บริหารเวลาได้ง่ายขั้น ซึ่งเกณฑ์การระบุ Staging ผู้ป่วย จะใช้ผลเลือด ร่วมกับ 3 Key point ได้แก่ ผู้ป่วยจะต้องได้รับการตรวจตา ตรวจไต และตรวจเท้า ร่วมด้วยเสมอ ส่วนด้านการสื่อสารให้ผู้ป่วยและครอบครัว รับรู้และเข้าใจเรื่อง Staging ของเบาหวานและการดูแลสุขภาพน้ัน ได้จัดทาเป็น VDO เปิดให้ผู้ป่วยและครอบครัวดู เพ่ือสร้างความเข้าใจและ รับรู้หน้าท่ีของตนเองในการร่วมดูแลสุขภาพ มีเป้าหมายเพื่อให้ผู้ป่วยคง stage เดิมให้นานท่ีสุด หลังจากที่ดู VDO เสร็จแล้วผู้ป่วยจะไปพบ นักกาหนดอาหาร พบผู้เชี่ยวชาญด้านตรวจตา ไต เท้า ซึ่งผู้ป่วยจะมีความเข้าใจมากข้ึนเพราะได้รับรู้จากการดู VDO แล้ว
การบริหารจัดการในการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน
ใช้ระบบ Care manager (ผู้ซึ่งทาหน้าที่เป็น co-ordinator) ประสานงานกับทีมสหสาขาวิชาชีพ ผู้ป่วยเบาหวาน Stage 1-2 มีนักกาหนดอาหาร (dietitian) เป็น Case manager คอยดูแลไม่ให้ผู้ป่วยคนน้ีป่วยเป็นเบาหวาน stage 2 หรือ stage 3 ส่วนในผู้ป่วยเบาหวาน Stage 3-5 มี พยาบาล เป็น Case manager
นอกจากนที้ เี่ ทพธารนิ ทร์ มจี ดุ เดน่ ของการประสานและสอ่ื สารระหวา่ งทมี การดแู ล โดยมกี ารกา หนดแนวทางการใหค้ วามรู้ การดแู ลผเู้ ปน็ เบาหวานในรูปแบบของ Multidisciplinary team ร่วมกับกาหนดแนวทางการส่งตรวจและดูแลผู้ป่วยเบาหวานสาหรับแพทย์ตาม TDS ซึ่งแนวทาง ท้ังหมดน้ีได้รับการสื่อสารให้ทราบทั้งตัวผู้ป่วยและทีมผู้ดูแล ทุกคนสามารถสอนให้ความรู้ได้เป็นมาตรฐานเดียวกัน
จากการทบี่ คุ ลากรของเทพธารนิ ทร์ รบั รแู้ นวทางและเปา้ หมายของการดแู ลผปู้ ว่ ยแตล่ ะราย จงึ มกี ารพฒั นา นวตั กรรม เพอ่ื นา มาใชใ้ นการ ทางานร่วมกัน ตัวอย่างนวัตกรรมที่ทีมร่วมกันคิดเพิ่มเติมเช่น ที่จุดคัดกรองก่อนพบแพทย์ได้ออกแบบ ไม้ไอติมพร้อมติดข้อความเตือนการส่งตรวจ ท่ีสําาคัญ เสียบในสมุดประวัติผู้ป่วย เพ่ือช่วยส่ือสารแจ้งเตือนกับแพทย์ว่าผู้ป่วยรายน้ันๆ จะต้องได้รับการตรวจเพ่ิมเติมตามมาตรฐานที่กา หนดไว้ อะไรบ้าง เช่นการแจ้งเตือนการส่งตรวจ ตา ไต เท้า เป็นต้น และที่โต๊ะตรวจแพทย์ทุกโต๊ะ จะมี TDS ติดไว้ทุกโต๊ะ เพื่อให้แพทย์ระบุ Staging ผู้ป่วย ใช้สื่อสารให้ทีมวางแผนการดูแลผู้ป่วยเฉพาะรายนั้นๆ
  สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 195
 




















































































   193   194   195   196   197