Page 21 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 21
A2-200
19th HA National Forum
Spectrum ของกระบวนการ HA ปัจจุบันมีการประเมินรับรองที่หลากหลาย ในสมัยท่ี HA เข้ามาใหม่ๆ โรงพยาบาลที่ผ่าน HA มีค่อนข้างน้อย เน่ืองจากการผ่านค่อนข้างยาก ทาให้มีแนวคิดการรับรองการผ่าน HA เป็นขั้นบันได 3 ข้ัน step 1 และ 2 เป็นการบ่มเพาะ เตรียมความพร้อม ตามศักยภาพของสถานพยาบาล ต่อมาจนยุคปัจจุบัน โรงพยาบาลประมาณ 780 แห่ง ผ่านการประเมิน HA แล้ว การผ่าน HA จึงไม่ใช่เรื่องที่ยากมากอีกต่อไป ทาให้สถาบันสร้างรูปแบบการประเมินรับรองที่มีความหลากหลายมากข้ึน เช่นรับรองความเป็น excellence ต่อยอดสู่ความเป็นเลิศในระดับองค์กรซึ่งก็คือ การประเมินรับรองขั้นก้าวหน้า (Advanced HA : AHA) การประเมินรับรองในมิติด้านจิตวิญญาณ (Spirituality Healthcare Award) หรือรับรองเฉพาะโรค (Disease Specific Certification) นอกจากนี้ยังมีการรับรองสถานบริการสาธารณสุข ของกรุงเทพมหานคร ตลอดจนการประเมินรับรองระบบสุขภาพระดับอาเภอ (District Health System Accreditation : DHSA) และการรับรอง เครือข่ายบริการสุขภาพระดับจังหวัด (Provincial Healthcare Network Certification) ซึ่ง District Health System Accreditation เน้นการ ดูแลสุขภาวะของคน ในขณะที่ Provincial Healthcare Network Certification เน้นท่ีการดูแลโรค
การประเมนิ รบั รองขนั้ กา้ วหนา้ (AHA) เหมาะกบั โรงพยาบาลทผี่ า่ นการรบั รอง HA แลว้ และมกี ารพฒั นาคณุ ภาพและความปลอดภยั ในทกุ สว่ นขององคก์ ร มผี ลลพั ธใ์ นภาพรวมทโี่ ดดเดน่ และตอ้ งการจะยกระดบั การพฒั นาสคู่ วามเปน็ เลศิ มาตรฐานสา หรบั การประเมนิ AHA เปน็ มาตรฐาน ตวั เดยี วกบั ทใี่ ชป้ ระเมนิ HA แตเ่ ครอื่ งมอื ทใี่ ชใ้ นการพฒั นาและกระบวนการเยยี่ มสา รวจจะมคี วามซบั ซอ้ นมากขนึ้ นอกจากนี้ เกณฑก์ ารผา่ นประเมนิ รับรองก็จะยากข้ึน เครื่องมือสาคัญที่ช่วยในการพัฒนาคุณภาพสู่ AHA ได้แก่ Extended Evaluation Guide, Standard Chapter Framework, Standard Detailed Process Flow, Performance Evaluation Framework, Strategic Line of Sight, Control Chart ซ่ึงไม่ได้กล่าวถึง รายละเอียดในที่นี้
ปัจจุบัน โรงพยาบาลที่ผ่านการประเมิน AHA มี 4 แห่ง คือ โรงพยาบาลศิริราช โรงพยาบาลภูมิพล ศูนย์การแพทย์โรงพยาบาลกรุงเทพ และโรงพยาบาลบารุงราษฎร์ อินเตอร์เนช่ันแนล โรงพยาบาลเหล่านี้จะมีลักษณะสาคัญ คือ บทบาทหลักของการขับเคลื่อนงานพัฒนาคุณภาพ จะขยับจากทีมระดับกลาง (เช่น ทีมพัฒนาคุณภาพ ทีมจัดการความเสี่ยง) ไปสู่ผู้นาระดับสูง มีการนา Core Values ของ HA มาใช้เป็นหลัก ในการดาเนินงาน จุดเน้นการขับเคลื่อนการพัฒนาเคล่ือนจากการเน้นการปฏิบัติตามข้อกาหนด (Process Compliance) ไปสู่การประเมินและ ปรับปรุงอย่างเป็นระบบ ส่งผลให้ผลลัพธ์ (performance) ส่วนใหญ่อยู่ในระดับ (top quartile) ของประเทศเกิดนวัตกรรมของระบบงาน สามารถ เป็นตัวอย่างที่ดีให้แก่โรงพยาบาลอื่น
การประเมนิ รบั รองระบบสขุ ภาพระดบั อา เภอ District Health System Accreditation (DHSA) เหมาะกบั โรงพยาบาลทผ่ี า่ นการประเมนิ รับรอง HA แล้ว และมีเป้าหมายในการสร้างสุขภาวะในพื้นที่รับผิดชอบ ผ่านการจัดบริการสุขภาพท่ีจาเป็นและกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพในพื้นที่ ท เ่ ี น น้ ป ร ะ ช า ช น เ ป น็ ศ นู ย ก์ ล า ง ด ว้ ย ค ว า ม ร ว่ ม ม อื ข อ ง ภ า ค เี ค ร อื ข า่ ย ท กุ ภ า ค ส ว่ น ไ ม ว่ า่ จ ะ เ ป น็ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร พ ฒั น า ค ณุ ภ า พ ช วี ติ ร ะ ด บั อ า เ ภ อ โ ร ง พ ย า บ า ล ส่งเสริมสุขภาพตาบล อสม. ผู้ดูแลผู้ป่วยท่ีบ้าน
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 21