Page 215 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 215

B3-204
19th HA National Forum
 4. ปัญหาในปัจุบัน
ผลกระทบของการรอ้ งเรยี น
ปจั จบุ นั มกี ารฟอ้ งรอ้ งแพทยแ์ ละสถานพยาบาลเพมิ่ ขนึ้ โดยมสี าเหตทุ งั้ จากดา้ นผปู้ ว่ ยทมี่ คี วามยงุ่ ยากลา่ ชา้ ในการเขา้ รบั การรกั ษาพยาบาล เสียค่าใช้จ่ายสูง ผลการรักษาไม่ปลอดภัย พิการ เสียชีวิต ผู้ป่วยและญาติมีความคาดหวังสูง เกิดความไม่พึงพอใจ ทาให้เกิดการเผชิญหน้า เสื่อมเสีย ชื่อเสียง เสียสุขภาพ สัมพันธภาพลดลง และการปกปิดความผิดพลาดต่างๆ นาไปสู่การฟ้องร้องดาเนินคดีบุคลากรทางการแพทย์เกี่ยวกับจริยธรรม วินัย เกิดการร้องผ่านสื่อต่างๆ สาเหตุของการฟ้องร้อง ส่วนใหญ่เกิดจาก ความไม่ไว้วางใจ (trust) ระหว่างแพทย์ พยาบาลและผู้ป่วย ความรู้สึก ไมไ่ ดร้ บั ความเปน็ ธรรม สมั พนั ธภาพทไี่ มด่ รี ะหวา่ งบคุ ลากรทางการแพทยก์ บั ผปู้ ว่ ยและญาติ ความตอ้ งการใหม้ กี ารแกไ้ ข ปรบั ปรงุ ระบบบรกิ าร โดยมี ผลสรุปสาเหตุการฟ้องร้องแพทย์ (ข้อมูล ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2560) พบว่า มีสาเหตุจากการรักษาผิดพลาด ร้อยละ 50.89 การคลอด ร้อยละ 24.56 ไม่เอาใจใส่ดูแล ร้อยละ 8.19 วินิจฉัยผิดพลาด ร้อยละ 9.61 แพ้ยา ร้อยละ 3.91 ผิดมาตรฐาน ร้อยละ 2.14 และอุปกรณ์ ร้อยละ 0.71
การป้องกันการฟ้องร้องดาเนินคดีบุคลากรทางการแพทย์ ทาได้โดยพยาบาลต้องปฏิบัติตามมาตรฐานและกระบวนการพยาบาลที่ดี ตั้งแต่ การประเมินปัญหา วินิจฉัย วางแผน ปฏิบัติการพยาบาลและประเมินผลการพยาบาลท่ีเป็นไปตามมาตรฐาน รวมทั้งการตรวจสอบความพร้อมใช้ ของเครื่องมือ อุปกรณ์การแพทย์ ออกซิเจนต่างๆ ให้พร้อมใช้ตลอดเวลา
กระบวนการพยาบาล
จะช่วยสร้างคุณค่า คุณภาพและคุณธรรม ให้เกิดข้นึ ในระบบบริการสุขภาพได้อย่างไร
1. การคุ้มครองสิทธิผู้รับบริการด้านสุขภาพ
ปจั จบุ นั ประเทศไทยมรี ะบบบรกิ ารสขุ ภาพ 4 ระบบ ไดแ้ ก่ ระบบสวสั ดกิ ารการรกั ษาพยาบาลขา้ ราชการ รฐั วสิ าหกจิ ระบบประกนั สขุ ภาพ ภาคประชาชน ระบบประกนั สงั คมของลกู จา้ ง แรงงาน และระบบบรกิ ารสขุ ภาพภาคเอกชน (บรษิ ทั ประกนั /จา่ ยเอง) โดยทกี่ ารดา เนนิ การตามนโยบาย บูรณาการ 3 กองทุน มีหลักการสาคัญ ได้แก่ ผู้ป่วยทุกสิทธิเข้าถึงการรักษาด้วยเกณฑ์มาตรฐานเดียวกัน ผู้ป่วยได้รับการรักษาต่อเนื่องโดยวิธีการ รักษาแบบเดิมแม้จะเปลี่ยนสิทธิ ผู้ป่วยจะได้รับการรักษาภายใต้ระบบบริการของกองทุนที่ย้ายเข้าไปใหม่ และหน่วยบริการได้รับชดเชยค่าบริการ และเวชภัณฑ์ตามระเบียบของกองทุนท่ีผู้ป่วยย้ายเข้ามาใหม่
พ.ร.บ.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2545
สาระสาคัญได้แก่ มาตรา 5 สิทธิที่จะได้รับบริการสาธารณสุขที่มีมาตรฐานและมีประสิทธิภาพ มาตรา 6 สิทธิเลือกสถานบริการ มาตรา 41 สิทธิได้รับเงินช่วยเหลือเบ้ืองต้นจากกองทุน กรณีได้รับความเสียหายจากการรักษาพยาบาล มาตรา 45 กาหนดหน้าที่สถานบริการ ให้บริการที่ได้ มาตรฐานและมคี ณุ ภาพ ใหค้ วามเสมอภาค อา นวยความสะดวก เคารพในสทิ ธสิ ว่ นบคุ คล ศกั ดศิ์ รคี วามเปน็ มนษุ ยแ์ ละความเชอื่ ทางศาสนา ใหข้ อ้ มลู ตามประกาศสทิ ธผิ ปู้ ว่ ยโดยไมบ่ ดิ เบอื น ใหข้ อ้ มลู ชอ่ื แพทยห์ รอื ผรู้ บั ผดิ ชอบในการดแู ลกอ่ นจา หนา่ ยผรู้ บั บรกิ าร รกั ษาความลบั ของผรู้ บั บรกิ าร จดั ทา ระบบข้อมูลเพื่อสะดวกต่อการตรวจสอบคุณภาพและขอรับเงินค่าใช้จ่าย
สิทธิของประชาชนในระบบประกันสุขภาพ
ประกอบดว้ ย สทิ ธใิ นการเขา้ ถงึ บรกิ ารสาธารณสขุ ทมี่ มี าตรฐานและมคี ณุ ภาพ สทิ ธทิ จี่ ะเลอื กหนว่ ยบรกิ ารประจา ตวั สทิ ธทิ จี่ ะไดร้ บั บรกิ าร ในกรณีฉุกเฉิน นอกเหนือจากหน่วยบริการที่ลงทะเบียนไม่จากัดจานวนคร้ัง สิทธิที่จะร้องเรียนเม่ือไม่ได้รับบริการตามที่กาหนดในสิทธิประโยชน์ สิทธิที่จะได้รับค่าเสียหายเบื้องต้น เม่ือเกิดความเสียหายจากการใช้บริการ และสิทธิในการมีส่วนร่วมในการกาหนดนโยบาย การจัดสรรงบประมาณ เพื่อการบริการสาธารณสุข
พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2550
แนวคิดของกฎหมาย เน้นการป้องกันมากกว่ารักษา สร้างความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ การสร้างเสริมสิ่งแวดล้อมและสังคมที่เป็นสุข รับรองสิทธิของประชาชนให้ได้รับการคุ้มครองสุขภาพอย่างเท่าเทียม ประชาชนมีหน้าท่ีปกป้องดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสังคม
มาตรา 7 สิทธิในการปกปิดข้อมูลด้านสุขภาพ ข้อมูลด้านสุขภาพเป็นความลับส่วนบุคคล ห้ามเปิดเผย เว้นแต่เป็นไป
ตามวัตถุประสงค์ของเจ้าของข้อมูล หรือมีกฎหมายกาหนดไว้ให้เปิดเผย ห้ามขอเอกสารข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคลอื่นท่ีไม่ใช่ของตนเอง ฝ่าฝืนมีโทษจาคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหม่ืนบาทหรือท้ังจาท้ังปรับ
  สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 215
 















































































   213   214   215   216   217